โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว ”
ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว
ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ L-1527-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L-1527-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคม และเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวง อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้าๆในอดีตแต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้นเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ และการดื้อยา ดังนั้นกระทรวงาธารณสุขจึงให้ความสำคัญแก่แผนงานวัณโรคแห่งชาติ ในอันที่จะพัฒนายุทธศาสตร์ที่สำคัญในการควบคุมวัณโรค โดยการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในระยะแรกได้เน้นไปที่การตรวจรักษา และการป้องกันโรคจากการทบทวนแผนงานวัณโรคแห่งชาติโดยคณะผู้เชี่ยวชาญวัณโรคจากองค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะที่ต้องเร่งรัดการดำเนินงานวัณโรค เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอัตราการรักษาหาย และกินยาครบหรือที่เรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค (Treatment success rate) มากกว่าร้อยละ 90 ของแนวทางการรักษาที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยา ต่อหน้าทุกวัน ที่เรียกว่า DOTS(Directly Observed Treatment System)ซึ่งองค์การอนามัยโลก(WHO)ได้ให้เสนอแนะให้ทุกประเทศทั่วโลก ใข้แนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จ ในการรักษาวัณโรคโดยพี่เลี้ยงหมายถึง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.หรือบุคคลในครอบครัวเพื่อคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจยกระทั่งหายขาดไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรค และการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไป ซึ่งหากไม่มีการควบคุมที่ดีและถูกต้องตามแนวทาง อาจก่อให้เกิดการระบาดของวัณโรคได้ ซึ่งกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค มี 7กลุ่มดังนี้ 1. ผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค 2.ผู้สูงอายุ 3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (เบาหวาน/ความดัน/COPD/Stroke/ไต/มะเร็ง)4.ผู้ติดเชื้้อ HIV/AIDs 5.แรงงานต่างด้าว 6.ผู้ต้องขัง 7.ผู้ติดสุรา /ยาเสพติด ในพื้นที่เขตรับผืดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว ในปีงบประมาณ 2560 พบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เกิดขึ้นจำนวน 2 ราย และในปีงบประมาณ 2562 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เกิดขึ้นจำนวน 1 ราย มีอัตราการรักษาสำเร็จ 2 ราย และในปีงบประมาณ 2561 พบผู้ป่วยวัณโรคกลับมาเป็นซ้ำ จำนวน 1ราย และเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินโครงการแก้ไขปัญหาวัณโรค และเพื่อให้มีประสิทธิภาพรวมทั้งการสร้างความตระหนักในระดับชุมชน และร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาของวัณโรคให้ลดน้อยลงต่อไป ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว จึงได้ดำเนินการจัดทำ โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาวขึ้น โดยการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในพื้นที่เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อและสามารถควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพในระดับชุมชน เพื่อให้มีการดำเนินงารที่ทีประสิทธิภาพต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค
- 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค
- 3.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และส่งต่อผู็ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
- 4.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 3 อาสาสมัครสาธารณสุขคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคตามเขตพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบ
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสำรวจรายชื่อกลุ่มเสี่ยงวัณโรค และจัดทำแผนงานโครงการและประชุม
- กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค และแนวทางการคัดกรอง ติดตาม ผู้ป่วยวัณโรค
- กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่ส่งต่อผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคไปยังโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์
- กิจกรรมที่ 5 ติดตามผู้ป่วยวัณโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
79
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้ และแนวทางในการคัดกรองผู้ป่วยที่ถูกต้อง
2.การดำเนินงานการค้นหา และคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพ
3.มีอัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกราย
4.ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาโรคที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมรพี่เลี้ยง(DOT) โดยอาสาสมัครสาธารณสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครสาธารณสุขความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค
0.00
2
2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค
0.00
3
3.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และส่งต่อผู็ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 100 ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
0.00
4
4.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ 100 ผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนในพื้นที่ที่ได้รับการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT)
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
79
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
79
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค (2) 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค (3) 3.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และส่งต่อผู็ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ (4) 4.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 3 อาสาสมัครสาธารณสุขคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคตามเขตพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบ (2) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสำรวจรายชื่อกลุ่มเสี่ยงวัณโรค และจัดทำแผนงานโครงการและประชุม (3) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค และแนวทางการคัดกรอง ติดตาม ผู้ป่วยวัณโรค (4) กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่ส่งต่อผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคไปยังโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์ (5) กิจกรรมที่ 5 ติดตามผู้ป่วยวัณโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ L-1527-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว ”
ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ L-1527-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L-1527-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคม และเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวง อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้าๆในอดีตแต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้นเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ และการดื้อยา ดังนั้นกระทรวงาธารณสุขจึงให้ความสำคัญแก่แผนงานวัณโรคแห่งชาติ ในอันที่จะพัฒนายุทธศาสตร์ที่สำคัญในการควบคุมวัณโรค โดยการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในระยะแรกได้เน้นไปที่การตรวจรักษา และการป้องกันโรคจากการทบทวนแผนงานวัณโรคแห่งชาติโดยคณะผู้เชี่ยวชาญวัณโรคจากองค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะที่ต้องเร่งรัดการดำเนินงานวัณโรค เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอัตราการรักษาหาย และกินยาครบหรือที่เรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค (Treatment success rate) มากกว่าร้อยละ 90 ของแนวทางการรักษาที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยา ต่อหน้าทุกวัน ที่เรียกว่า DOTS(Directly Observed Treatment System)ซึ่งองค์การอนามัยโลก(WHO)ได้ให้เสนอแนะให้ทุกประเทศทั่วโลก ใข้แนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จ ในการรักษาวัณโรคโดยพี่เลี้ยงหมายถึง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.หรือบุคคลในครอบครัวเพื่อคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจยกระทั่งหายขาดไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรค และการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไป ซึ่งหากไม่มีการควบคุมที่ดีและถูกต้องตามแนวทาง อาจก่อให้เกิดการระบาดของวัณโรคได้ ซึ่งกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค มี 7กลุ่มดังนี้ 1. ผู้สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค 2.ผู้สูงอายุ 3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (เบาหวาน/ความดัน/COPD/Stroke/ไต/มะเร็ง)4.ผู้ติดเชื้้อ HIV/AIDs 5.แรงงานต่างด้าว 6.ผู้ต้องขัง 7.ผู้ติดสุรา /ยาเสพติด ในพื้นที่เขตรับผืดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว ในปีงบประมาณ 2560 พบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เกิดขึ้นจำนวน 2 ราย และในปีงบประมาณ 2562 มีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เกิดขึ้นจำนวน 1 ราย มีอัตราการรักษาสำเร็จ 2 ราย และในปีงบประมาณ 2561 พบผู้ป่วยวัณโรคกลับมาเป็นซ้ำ จำนวน 1ราย และเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินโครงการแก้ไขปัญหาวัณโรค และเพื่อให้มีประสิทธิภาพรวมทั้งการสร้างความตระหนักในระดับชุมชน และร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาของวัณโรคให้ลดน้อยลงต่อไป ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว จึงได้ดำเนินการจัดทำ โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาวขึ้น โดยการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เชิงรุกในพื้นที่เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อและสามารถควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพในระดับชุมชน เพื่อให้มีการดำเนินงารที่ทีประสิทธิภาพต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค
- 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค
- 3.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และส่งต่อผู็ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
- 4.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 3 อาสาสมัครสาธารณสุขคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคตามเขตพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบ
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสำรวจรายชื่อกลุ่มเสี่ยงวัณโรค และจัดทำแผนงานโครงการและประชุม
- กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค และแนวทางการคัดกรอง ติดตาม ผู้ป่วยวัณโรค
- กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่ส่งต่อผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคไปยังโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์
- กิจกรรมที่ 5 ติดตามผู้ป่วยวัณโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 79 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้ และแนวทางในการคัดกรองผู้ป่วยที่ถูกต้อง 2.การดำเนินงานการค้นหา และคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพ 3.มีอัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกราย 4.ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาโรคที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมรพี่เลี้ยง(DOT) โดยอาสาสมัครสาธารณสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของอาสาสมัครสาธารณสุขความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และส่งต่อผู็ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 100 ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง |
0.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามาตรฐาน ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ 100 ผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนในพื้นที่ที่ได้รับการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 79 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 79 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค (2) 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรค (3) 3.เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรคโดยการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย และส่งต่อผู็ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ (4) 4.เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบ DOTS ให้เป็นไปตามาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 3 อาสาสมัครสาธารณสุขคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคตามเขตพื้นที่ที่ตนเองรับผิดชอบ (2) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสำรวจรายชื่อกลุ่มเสี่ยงวัณโรค และจัดทำแผนงานโครงการและประชุม (3) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องวัณโรค และแนวทางการคัดกรอง ติดตาม ผู้ป่วยวัณโรค (4) กิจกรรมที่ 4 เจ้าหน้าที่ส่งต่อผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรคไปยังโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์ (5) กิจกรรมที่ 5 ติดตามผู้ป่วยวัณโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยวัณโรค ตำบลเขาขาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ L-1527-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......