กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวังใหญ่ ”

ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวังใหญ่

ที่อยู่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5193-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวังใหญ่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวังใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวังใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังใหญ่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5193-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 322,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมความพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่การเพิ่มจำนวนของประชากรและมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบกและทางอากาศทำให้การเดินทางมากขึ้นปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่เป็นไปอย่างรวดเร็วนอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วยโดยในเขตพื้นที่ตำบลวังใหญ่ ถึงแม้ว่าที่ผ่านมาหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ได้ร่วมมือกันในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรค ไม่ว่าจะเป็นการจัดทำ Big Cleaning Days ยุงลาย การออกพ่นหมอกควันควบคุมโรคหลังพบผู้ป่วยในพื้นที่ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ตระหนักถึงภัยไข้เลือดออก ฯลฯ ก็ไม่สามารถควบคุมการระบาดของโรคลงได้ โดยในปี 2559 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 จนถึงปัจจุบัน จำนวน 92 ราย แบ่งเป็น หมู่ที่ 1 จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 2 จำนวน 17 ราย หมู่ที่ 3 จำนวน 17 ราย หมู่ที่ 4 จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 5 จำนวน 19 ราย หมู่ที่ 6 จำนวน 14 ราย หมู่ที่ 7 จำนวน 10 ราย และหมู่ที่ 8 จำนวน 5 ราย ซึ่งอัตราผู้ป่วยมีแนวโน้มขยายตัวขึ้นทุกๆ เดือน จึงต้องรีบดำเนินการให้ทันท่วงทีเพื่อความรุนแรงในการระบาดของโรคอีกทางหนึ่ง
ในการนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวังใหญ่ขึ้น โดยถือเป็นภารกิจหลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการป้องกันและควบคุมโรคระบาด เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ลดอัตราผู้ป่วยติดเชื้อไข้เลือดออกตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557ข้อ 7(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไมน้อยกว่าร้อยละ 20
  2. เพื่อควบคุมลูกน้ำยุงลายในเขตพื้นที่ตำบลวังใหญ่ ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน(H0use Index)ไม่เกินร้อยละ10ค่าดัชนีน้ำยุงลายในเขตโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ(C0ntainnerindex)=0
  3. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี ๒๕60 ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ20 2. ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน((H0use Index)ไม่เกินร้อยละ10 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหน่วยงาน (C0ntainnerindex) =0 3.เกิดความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการป้องกันและควบคุมโรคโรคไข้เลือดออกในชุมชนในระดับดี 4. มีทีมเฝ้าระวังและสอบสวนโรคที่มีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไมน้อยกว่าร้อยละ 20
    ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20

     

    2 เพื่อควบคุมลูกน้ำยุงลายในเขตพื้นที่ตำบลวังใหญ่ ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน(H0use Index)ไม่เกินร้อยละ10ค่าดัชนีน้ำยุงลายในเขตโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ(C0ntainnerindex)=0
    ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน ไม่เกินร้อยละ 10 ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในเขตโรงเรียน วัด สถานทีราชการ =0

     

    3 เพื่อดำเนินการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไมน้อยกว่าร้อยละ 20 (2) เพื่อควบคุมลูกน้ำยุงลายในเขตพื้นที่ตำบลวังใหญ่ ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน(H0use Index)ไม่เกินร้อยละ10ค่าดัชนีน้ำยุงลายในเขตโรงเรียน วัด สถานที่ราชการ(C0ntainnerindex)=0 (3) เพื่อดำเนินการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลวังใหญ่ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5193-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด