กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ”

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอารัญย์ มัจฉา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ที่อยู่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5312-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ค่านิยมบริโภคอาหารทอดที่เพิ่มมากขึ้น จนผลิตภัณฑ์อาหารทอดต่างๆ กลายเป็นอาหารขายดีทั้งในระดับชุมชนจนถึงห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ มีการใช้น้ำมันทอดอาหารทั้งที่ทำจากสัตว์และพืช โดยเฉพาะน้ำมันพืชที่แต่ละปีประเทศไทยบริโภคถึงปีละ 800,000 ตัน ซึ่งข้อเท็จจริงพบว่าผู้ประกอบการอาหารทอด จะใช้น้ำมันในการทอดซ้ำหลายครั้ง จนลักษณะทางกายภาพของน้ำมันหรือคุณลักษณะของอาหารเสียไป จึงเปลี่ยนน้ำมันใหม่ หรือเติมน้ำมันใหม่ผสมลงไปทอดอาหารซ้ำๆต่อไป การเสื่อมสภาพของน้ำมันจากการทอดเกิดสารประกอบที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย คือ “สารไพลาร์”ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคมะเร็งซึ่งในน้ำมันสำหรับทอดอาหารกำหนดให้มีปริมาณสารโพลาร์ไม่เกินร้อยละ 25 ของน้ำหนัก โดยการตรวจปริมาณสารโพลาร์ในน้ำมันจะช่วยให้ผู้ประกอบการอาหารทอด ทราบเวลาที่ต้องเปลี่ยนน้ำมันของร้านตนเองที่ยังคงปลอดภัยและลดต้นทุนตามสมควร นอกจากนี้การป้องกันไม่ให้น้ำมันที่เสื่อมสภาพแล้วกลับมาสู่วงจรการบริโภค โดยนำไปผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซลหรือนำไปใช้ในการผลิตสบู่ ซึ่งถือเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและปลอดภัยที่ดีทางหนึ่งด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิขนาดใหญ่ ประกอบด้วยหมู่บ้านทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ทำให้มีสถานที่จำหน่ายอาหารทอดจำนวนมาก เช่น ร้านขายไก่ทอด ปาท่องโก๋ กล้วยทอด ลูกชิ้นทอด จากการสำรวจโดยเจ้าหน้าที่พบว่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำมีร้านจำน่ายอาหารทอดจำนวน 35 ร้าน ซึ่งส่วนใหญ่ร้านต่างๆเหล่านี้จะใช้น้ำมันทอดซ้ำประมาณ 2-3 วัน ต่อการเปลี่ยนรอบน้ำมัน 1 ครั้ง จึงมีผลกระทบโดยตรงต่อผู้บริโภคจากการซื้ออาหารทอดเหล่านี้มารับประทาน ดังนั้นพื้นที่จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนระบบการคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น โดยการส่งเสริมการควบคุมกำกับ เฝ้าระวัง สื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพให้ความรู้ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ เห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอ ละงู จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2563 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค มีพฤติกรรมการใช้น้ำมันทอดอาหารและการเลือกซื้ออาหารทอดที่ถูกต้อง นำไปสู่การมีสุขภาวะทางด้านสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อทราบสถานการณ์ ค่าสารโพลาร์ในน้ำมันทอดของผู้ประกอบการขายอาหารทอดในเขตโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปากน้ำ
  2. 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค มีความเข้าใจถึงอันตรายของน้ำมันทอดซ้ำต่อสุขภาพ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษจากน้ำมันทอดซ้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมคณะทำงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  3. ออกติดตาม สำรวจ สุ่มตรวจร้านจำหน่ายอาหารทอดที่เข้าร่วมโครงการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ
  4. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
15

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้านจำหน่ายอาหารทอดเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ ผ่านมาตราฐานการตรวจสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. ผู้ประกอบการและผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภคอาหารทอดที่ปลอดภัยจากร้านที่ผ่านมาตราฐานการตรวจสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ประชุมคณะทำงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ

วันที่ 6 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า -ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน *100 บาท เป็นเงิน 2500 บาท -ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน *35 บาท เป็นเงิน 875 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงานเพื่อหารือในการทำงาน

 

25 0

2. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 6 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เรื่องพิษภัยและอัตรายจากการใช้นํ้ามันทอดซํ้า และสาธิตวิธีการใช้ชุดทดสอบสารโพลาร์ แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน ณ องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รู้ถึงพิษภัยและอัตรายจากการใช้นำ้มันทอดซั้า

 

90 0

3. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 6 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ออก ติดตาม สำรวจ และส่มตรวจร้านจำหน่ายอาหารที่เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน ร่วมตรวจร้านอาหารในพื้นที่ตำบลปากนํ้า

 

90 0

4. ออกติดตาม สำรวจ สุ่มตรวจร้านจำหน่ายอาหารทอดที่เข้าร่วมโครงการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ

วันที่ 6 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อทราบสถานการณ์ ค่าสารโพลาร์ในน้ำมันทอดของผู้ประกอบการขายอาหารทอดในเขตโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปากน้ำ
ตัวชี้วัด :
80.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค มีความเข้าใจถึงอันตรายของน้ำมันทอดซ้ำต่อสุขภาพ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษจากน้ำมันทอดซ้ำ
ตัวชี้วัด :
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 105
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
15

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อทราบสถานการณ์ ค่าสารโพลาร์ในน้ำมันทอดของผู้ประกอบการขายอาหารทอดในเขตโรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลปากน้ำ (2) 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้บริโภค มีความเข้าใจถึงอันตรายของน้ำมันทอดซ้ำต่อสุขภาพ และเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อหลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษจากน้ำมันทอดซ้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมคณะทำงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (3) ออกติดตาม สำรวจ สุ่มตรวจร้านจำหน่ายอาหารทอดที่เข้าร่วมโครงการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ (4) ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังปัญหาน้ำมันทอดซ้ำ เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอารัญย์ มัจฉา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด