กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางธัญญารัตน์ พูลเกิด




ชื่อโครงการ อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-44 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นครหาดใหญ่เป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีสภาพความเป็นสังคมมืองอย่างเต็มรูปแบบ และเป็นศูนย์กลางความ เจริญรุ่งเรืองทางด้านเศรษฐกิจในภาคใต้ที่มีสภาพแวดล้อมส่วนใหญ่เป็นอาคารบ้านเรือน ถนนหนทาง และเป็นที่รวมของผู้คนมากมายที่มีความหลากหลาย และแตกต่างทางด้านต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ในด้านสังคมมีความเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วอันเนื่องมาจาความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้ชาวนครหาดใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง และสามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ จึงทำให้ชีวิตประจำวันของคนในเมืองไม่ได้มีความสัมพันธ์กับธรรมชาติมากนัก กลายเป็นชีวิตท่ามกลางป่าคอนกรีตตามวิถีชุมชนเมือง กรมีพื้นที่สีเขียวจากพืชพันธุ์ธรรมชาติจึงกลายเป็น สิ่งที่ดูแปลกแยก หากแต่วิถีชีวิตบางกลุ่มได้เห็นความสำคัญของธรรมชาติและพืชผัก เพื่อแก้ปัญหาของคนเมืองในด้านอาหาร ปัญหาด้านสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม ประกอบกับการปลูกผักแบบไม่ใช้สารเคมี และการยกระดับการพึ่งพาตนเอง ตลอดจนการช่วยพัฒนาระบบอาหารและวิถีชีวิตทางเลือกที่เกื้อกูลธรรมชาติท่ามกลางข้อจำกัดของชีวิตคนเมือง และได้คันพบกับคุณค่าบางอย่างของชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา และทำให้เห็นว่าพืชผักที่ปลอดสารพิษมีประโยชน์ต่อชีวิตอย่างมากมาย การสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมการปลูกผักของคนเมือง เพื่อผลักดันให้เกิดกลุ่มคน หรือชุมชนให้นิยมหันมา สนใจรวมกลุ่มกันปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อบริโภคและแบ่งปันกันในระหว่างกลุ่ม สร้างการพัฒนารูปแบบและนวัตกรรมการ ทำเกษตรในเมืองและการพึ่งพาตนเองแบต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย และสอดรับกับภูมินิเวศของแต่ละพื้นที่ รวมทั้ง การเชื่อมโยงกับการปรับตัวของคนเมืองต่อวิกกฤตต่างๆ โดยเฉพาะภัยธรรมชาติดังเช่นอุทกภัยที่เกิดขึ้นในอดีต สมาชิกชุมชนจึง เล็งเห็นความสำคัญของพื้นที่สาธารณะที่ทั้งช่วยสร้างอาหาร และสร้างชุมชนได้นั้น อาจไม่ได้ต้องการพื้นพี่ส่วนกลางที่ใหญ่โต แค่พื้นที่บนทางเท้าเล็กๆ หน้าบ้านของแต่ละคน พื้นที่ว่าง หรือดาดฟ้าก็สามารถทำได้ แถมยังมีส่วนช่วยสร้างพื้นที่สีเขียว ช่วยสร้างความหลากหลายทางชีวภาพ และที่สำคัญช่วยเก็บกักและชะลอน้ำฝนที่ตกลงมาอย่าหนัก รวมถึง ช่วยลดปัญหาเกาะความร้อนในเมืองซึ่งเป็นปัญหาที่คนเมืองควรตะหนักและมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขได้ ด้วยเหตุผลและความจำเป็น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุนให้เกิดรูปแบบนวัตกรรมเกษตรชุมชนเมืองด้านความรู้ทางการเกษตรการได้ลงมือปฏิบัติจริงการเตรียมดินการผสมดินสำหรับการเพาะพันธ์กล้าไม้และการปลูกต้นไม้การทำแปลงปลูกผักการเพาะพันธ์ต้นอ่อนการดู การดูแลบำรุงรักษาและการเก็บผลผลิตทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการขยายผลที่มีคุณค่าและที่มีประโยชน์ต่อประชาชนในชุมชนสถานีอู่ตะเภา
  2. เพื่อเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายและนำผักไปจำหน่ายในชุมชนเพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้ประชาชนในชุมชนสามารถปลุกผักสวนครัวไว้บริโภคในครัวเรือนพร้อมจำหน่ายจำนวน 30 ครัวเรือนไม่ต่ำกว่า 80 คน

2.ทำให้ประชาชนในชุมชนปลูกผักโดยใช้วัสดุเหลือใช้โดยใช้นวัตกรรมทางการเกษตรจำนวน 30 ครัวเรือนไม่ต่ำกว่า 80 คน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้

วันที่ 27 เมษายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมนวัตกรรมในการปลูกพืชผักสำหรับคนเมือง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การเอาขยะเหลือใช้มาเป็นภาชนะในการปลูกผักสำหรับคนเมือง

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุนให้เกิดรูปแบบนวัตกรรมเกษตรชุมชนเมืองด้านความรู้ทางการเกษตรการได้ลงมือปฏิบัติจริงการเตรียมดินการผสมดินสำหรับการเพาะพันธ์กล้าไม้และการปลูกต้นไม้การทำแปลงปลูกผักการเพาะพันธ์ต้นอ่อนการดู การดูแลบำรุงรักษาและการเก็บผลผลิตทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการขยายผลที่มีคุณค่าและที่มีประโยชน์ต่อประชาชนในชุมชนสถานีอู่ตะเภา
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับในการฝึกอบรมมาปฏิบัติใช้ในครัวเรือนเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวหน้าบ้านดาดฟ้าพื้นที่ว่างเปล่าได้ผักที่ปลอดภัยตามหลักการปลูกผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในเดือนและเป็นการลดรายจ่ายของครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 50
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายและนำผักไปจำหน่ายในชุมชนเพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนให้เกิดรูปแบบนวัตกรรมเกษตรชุมชนเมืองด้านความรู้ทางการเกษตรการได้ลงมือปฏิบัติจริงการเตรียมดินการผสมดินสำหรับการเพาะพันธ์กล้าไม้และการปลูกต้นไม้การทำแปลงปลูกผักการเพาะพันธ์ต้นอ่อนการดู การดูแลบำรุงรักษาและการเก็บผลผลิตทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการขยายผลที่มีคุณค่าและที่มีประโยชน์ต่อประชาชนในชุมชนสถานีอู่ตะเภา (2) เพื่อเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายและนำผักไปจำหน่ายในชุมชนเพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนอย่างยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษบริโภคในครัวเรือน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-44

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัญญารัตน์ พูลเกิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด