กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562 ”

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นสิ่งที่สำคัญและมีประโยชน์มากในทางสูติศาสตร์ เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มาฝากครรภ์ ไม่ได้รับการดูแลขณะตั้งครรภ์จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จะมีโอกาสเกิดภาวะเสี่ยงหรือได้รับอันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดมากกว่าและรุนแรงกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจครรภ์และดูแลครรภ์อย่่งถูกต้องและทันเวลาและต่อเนื่องสม่ำเสมอภาวะเสี่ยงต่างๆอาจมีระดับของอันตรายถึงชีวิตของมารดาหรือทารกได้หากหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตั้งแต่อายุครรภ์ยังน้อยและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ รวมไปถึงสามีและญาติผู้อยู่ใกล้ชิดกับหญิงตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเข้าใจและเห็นความสำคัญของการคลอดในสถานพยาบาลของรัฐ ซึ่งมีความพร้อมทั้งทางด้านเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ทางการแพทย์ก็จะสามารถลดอัตราเสี่ยงต่างๆที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ได้ช่วยลดปัญหามารดาตายคลอด รวมถึงการติดเชื้อหลังคลอดที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตของมารดาและทารก จะเห็นได้ว่าหญิงตั้งครรภ์จะสามารถดูแลครรภ์และคลอดได้อย่างปลอดภัยมีบุตรที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องประกอบกับปัจจัยหลายๆด้าน จากสถานการณ์หญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด ของหมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล พบว่าร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ของปี 2559, 2560, และ 2561 คิดเป็นร้อยละ 77.78 , 77.19 และ 72.50 ตามลำดับ, ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพของปี 2559,2560,2561 คิดเป็นร้อยละ 44.44,56.14 และ 50 ตามลำดับ ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่คนเดียวของปี 2559, 2560, และ 2561 คิดเป็นร้อยละ 1.59,20.24, และ5.88 ตามลำดับ พบว่ายังมรปัญหาอีกหลายอย่าง ที่หญิงตั้งครรภ์ยังไม่ทราบหรือไม่เห็นความสำคัญ เช่น ความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ หากหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ล่าช้าและผลเลือดที่เจาะคัดกรองมีผลปกติในบางตัว เช่น การติดเชื้อ HIV ภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ตลอดจนภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นคณะคลอด และหลังคลอด เช่น ภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ภาวะเด็กดิ้นผิดปกติ ภาวะเลือดออกทางช่องคลอด ภาวะคลอดยาก และภาวะตกเลือดหลังคลอด การปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ความสำคัญของการตรวจหลังคลอดการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ทารก และความมสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การไม่มาฝากครรภ์ตามนัดหมายจึงส่งผลให้ไม่สามารถดูแลครรภ์ได้ตามเกณฑ์คุณภาพของการฝากครรภ์ปัญหาเหล่านี้หากไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลกระทบถึงคุณภาพชีวิตของมารดาและทารกตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอด รวมไปถึงพัฒนาการของเด็กหลังคลอดและรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้นการที่จะทำให้ชุมชน บุคคลใกล้ชิดและหญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลครรภ์ให้มีคุณภาพจำเป็นอย่างยิ่งที่หญิงตั้งครรภ์และทุกคนที่เกี่ยวข้องที่จะต้องรับรู้เกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ การปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองและบุตรเมื่อคลอดอย่างถูกวิธี การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กรอนามัยได้กำหนดนิยาม หมายถึง จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของหญิงอายุ 15-19 ปี หรือ 10-14 ปี ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสำคัญโดยองค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี (Adolescent birth rate) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่นานาชาติต้องบรรลุให้ได้ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยได้กำหนดให้ การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี และอายุ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในการบรรลุเป้าหมายที่ 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันในคนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่เพียงพอแต่เป็นปัญหาด้านสุขภาพ แต่ยังเป็นปัญหาด้านประชากรที่ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศษฐกิจและสังคมของประเทศอีกด้วย จังหวัดสตูลในปี 2561 มีจำนวนการคลอดในหญิงอายุ 10-14 ปี จำนวน 10 คน จำนวนการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี จำนวน 575 คน หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล มีจำนวนการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี ในปี 2559-2561 จำนวน 7,12 และ 6 คน ซึ่งมีทั้งการคลอดก่อนและหลังการสมรสโดยส่วนหนึ่งเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ทั้งนี้เกิดจากวัยรุ่นบางส่วนยังขาดความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่น สื่อในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เช่น การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเอง จังอาจส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการเจ็บป่วยด้วยโรคติต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นผลให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆตามมา ซึ่งมีผล ต่อคุณภาพชีวิตของเด็กและครอบครัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สภาเด็กและเยาวชนตำบลนิคมพัฒนาตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการป้องกันและกแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และป้องกันกการท้องกก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จัหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง และเพื่อให้กลุ่มวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาและการป้องกันการท้องก่อนวัยอันควรและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง 2.เพื่อให้กลุ่มวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาและการป้องกันการท้องก่อนวัยอันควรและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3. อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนอนุบาลมะนัง
  2. 4.อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 6
  3. 1.กิจกรรมรณรงค์ในชุมชน
  4. 2.อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรสหรือบุคคลในครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง 2.กลุ่มวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาและป้องกันการท้องก่อนวัยอันควรและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3. อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนอนุบาลมะนัง

วันที่ 16 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนอนุบาลมะนัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง
  2. กลุ่มวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและการป้องกันการท้องก่อนวัยันควร และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

 

90 0

2. 4.อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 6

วันที่ 18 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง
  2. กลุ่มวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและการป้องกันการท้องก่อนวัยันควร และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

 

160 0

3. 2.อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรสหรือบุคคลในครอบครัว

วันที่ 25 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและบุตรและส่งเสริมให้ลูกได้กินนมแม่และแก้ไขปัญหาสุขภาพในกลุ่มแม่และเด็ก ตามโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้อวกันการท้องก่อนวัยอันควร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรสหรือคนในครอบครัว

 

60 0

4. 1.กิจกรรมรณรงค์ในชุมชน

วันที่ 2 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รณรงค์ในชุมชน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง 2.เพื่อให้กลุ่มวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาและการป้องกันการท้องก่อนวัยอันควรและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด :
310.00 310.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 310 310
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250 250
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง  2.เพื่อให้กลุ่มวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษาและการป้องกันการท้องก่อนวัยอันควรและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3. อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนอนุบาลมะนัง (2) 4.อบรมเชิงปฏิบัติการในเด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1-3 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 6 (3) 1.กิจกรรมรณรงค์ในชุมชน (4) 2.อบรมเชิงปฏิบัติการดูแลตนเองในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรสหรือบุคคลในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562

ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร หมู่ที่ 1,2,3,7,8และ9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ นิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด