กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรในผู้สูงอายุ ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายจรูญ มลิวัลย์ ประธาน ศพอส.ทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรในผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-l5169-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กันยายน 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรในผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรในผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-l5169-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กันยายน 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวสู่สังคมของผู้สูงอายุ และอนาคตผู้สูงอายุจะกลายเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศ มีปรากฏการณ์ชัดเจนมากขึ้นว่าสังคมและหน่วยงาน ตลอดจนนโยบายรัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการเตรียมการสำหรับสังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบมากขึ้น
จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป พบว่ามีผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือจากญาติพี่น้อง หรือคนดูแล คิดเป็นร้อยละ 22 โดยมีผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของร่างกายเช่น เกิดการเสื่อมของเซลล์และอวัยวะต่างๆประกอบกับมวลกล้ามเนื้อ มวลเนื้อเยื่อของอวัยวะภายใน มวลกระดูกและน้ำในร่างกายลดลง แต่สัดส่วนของไขมันมากขึ้น ทำให้การทำงานของระบบต่างๆของร่างกายและอวัยวะภายในเช่นหัวใจ ปอดตับ และสมองเปลี่ยนแปลงไปส่งผลให้สมรรถนะทางกายเสื่อมลง เกิดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงและลีบ กระดูกบางพรุน โลหิตจาง น้ำหนักลด ความจำเสื่อม อารมณ์แปรปรวน ระบบภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ไม่เหมือนเดิม ทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายและการฟื้นตัวจากโรคยากขึ้น โดยปกติการเสื่อมของร่างกายเป็นไปอย่างช้าๆแต่หากมีปัจจัยบางอย่างมาเกี่ยวข้อง เช่น ภาวะทุพโภชนาการ โรคเรื้อรัง หรือโรคเฉียบพลันใดๆก็ตามจะทำให้ความเสื่อมเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มที่ผู้สูงอายุจะเจ็บป่วยเพิ่มขึ้นจากการสำรวจข้อมูลภาวะสุขภาพผู้สูงตำบลทุ่งลาน จำนวน 1,093 ราย เป็นกลุ่มติดสังคมจำนวน 1,058 ราย ติดบ้านจำนวน 10 ราย และ ติดเตียง จำนวน 9  รายอายุพบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ขึ้นไปมีปัญหาเรื่องกระดูกข้อต่อและปวดเมื่อยร่างกาย และมีการใช้ยาแก้ปวดเพื่อระงับอาการทำให้บางรายได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยาซึ่งเป็นอันตรายกับผู้สูงอายุ
      ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลทุ่งลาน ตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องบูรณาการการแพทย์ทางเลือกโดยการนำสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อดูแลสุขภาพได้อย่างปลอดภัย ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไม่เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคม ส่งผลให้ครอบครัวและชุมชนมีความสุข ลดภาระค่าใช้จ่ายทางการแพทย์และสาธารณสุขส่งผลให้ประเทศชาติมีความเข้มแข็ง มั่นคง ยั่งยืน ตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสนับสนุนการแพทย์ทางเลือกและการ นำพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและเยาวชนในพื้นที่
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจและนักเรียน ได้รับความรู้ด้านสมุนไพรและนำความรู้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุและผู้สนใจรวมทั้งเยาวชนได้รับความรู้ในการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี ลดปัญหาการเจ็บป่วย ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาไม่เป็นภาระของครอบครัวส่งผลให้ครอบครัวและชุมชนมีความสุข ลดภาระค่าใช้จ่ายทางการแพทย์และสาธารณสุขส่งผลให้ประเทศชาติมีความเข้มแข็ง มั่นคง ยั่งยืน ตลอดไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 29 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องสมุนไพร

 

66 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสนับสนุนการแพทย์ทางเลือกและการ นำพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและเยาวชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุและผู้สนใจและนักเรียน ผ่านการอบรม ร้อยละ 90
66.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจและนักเรียน ได้รับความรู้ด้านสมุนไพรและนำความรู้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุและผู้สนใจและนักเรียน ผ่านการอบรม ร้อยละ 90
66.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสนับสนุนการแพทย์ทางเลือกและการ นำพืชสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและเยาวชนในพื้นที่ (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจและนักเรียน ได้รับความรู้ด้านสมุนไพรและนำความรู้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรในผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-l5169-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจรูญ มลิวัลย์ ประธาน ศพอส.ทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด