กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการสถานศึกษาสีขาว ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางงามเนตร ศรียะรัตน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดปรางแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการสถานศึกษาสีขาว

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-l5169-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสถานศึกษาสีขาว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสถานศึกษาสีขาว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสถานศึกษาสีขาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-l5169-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในปัจจุบัน การสื่อสารเทคโนโลยีต่างๆ ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ ซึ่งปรากฏปัญหาให้เห็นมากมาย ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการแพร่ระบาดของ  ยาเสพติด อันนำมาซึ่งปัญหาครอบครัวที่เกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด มีการปรับตัวที่ไม่เหมาะสม หรืออื่นๆ ความสำเร็จ  ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนานักเรียน นักศึกษา ให้เป็นคนดี มีคุณธรรมตามความคาดหวังนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยเฉพาะบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในสถานศึกษา ซึ่งมีครู อาจารย์ เป็นหลักสำคัญในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน นักศึกษา ให้เติบโตงดงามเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคม การพัฒนานักเรียน นักศึกษา ให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรม ดำเนินวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษาที่สถานศึกษาทุกแห่งต้องดำเนินการจัดการศึกษาตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่ต้องการ ให้เยาวชน เป็นคนเก่ง คนดี ดำรงตนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข นอกจากจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา ได้รับกระบวนการเรียนรู้แล้ว การป้องกันและช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงรอบสถานศึกษาที่มีพฤติกรรมไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ร้านเกม การพนัน หนีเรียน ทะเลาะวิวาท ก่ออาชญากรรม เป็นปัญหาสังคมให้ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ทุกคน ที่เกี่ยวข้อง ต้องเข้าไปช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาไม่ให้มีพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่งมาจากปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบจากแหล่งอบายมุข การพัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ห่างไกลจากยาเสพติด สื่อลามกอนาจาร เกมส์ออนไลน์ และการทะเลาะวิวาท ซึ่งเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนที่สังคมไม่ยอมรับ ถือเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่กำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข       “ยาเสพติด” เป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ และเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชน รัฐบาลได้กำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติซึ่งจะต้องแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน ยาเสพติดเป็นบ่อนทำลายความมั่นคงของชาติและแทรกซึมเข้าไปในครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน สังคม อันส่งผลกระทบทุกด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคงของประเทศ ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็ก เยาวชนให้พ้นภัยจากยาเสพติดและสิ่งมอมเมา จึงได้กำหนดเป็นแนวนโยบายให้โรงเรียนปราศจากยาเสพติด โดยให้สถานศึกษาร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วมกันหามาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาควบคู่กับการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
จากรายงานของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด หรือ ป.ป.ส. ได้รายงานสถานการณ์ปัญหายาเสพติดพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ระหว่าง เดือนตุลาคม 2559 – มีนาคม 2560 ในส่วนของจังหวัดสงขลา พบว่าสถิติการจับกุมคดียาเสพติดทุกข้อหาทุกตัวยา ห้วงตุลาคม 2559 – มีนาคม 2560 มีการ จับกุมรวม 15,013 คดี ผู้ต้องหา 17,141 คน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากห้วงตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559 ที่มีการจับกุม รวม 12,840 คดี ผู้ต้องหา 14,996 คน (คดีเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.92) จังหวัดสงขลายังคงเป็นจังหวัดที่มีการจับกุม มากที่สุด จำนวน 4,817 คดี ผู้ต้องหา 5,679 คน (ร้อยละ 55.03 เป็นคดีพืชกระท่อม)
ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ทักษะชีวิตที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข ด้วยการปลูกฝัง สร้างจิตสำนึก สามารถรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศ โดยมุ่งหวังให้สถานศึกษา ชุมชน สังคมปราศจากยาเสพติดและเป็นสถานศึกษาในโครงการ “สถานศึกษาสีขาว ” โรงเรียนวัดปรางแก้วจึงเห็นว่าการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น มีความจำเป็นและสำคัญอย่างเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ โดยหวังว่าโครงการสถานศึกษาสีขาว จะช่วยให้โรงเรียนสามารถพัฒนานักเรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี มีความสุขได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากสารเสพติดและอบายมุข
  2. 2. เพื่อให้ป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา
  3. 3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุขในศึกษาให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การคัดกรองนักเรียน
  2. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
  3. สภานักเรียนแกนนำต้านยาเสพติด
  4. สภานักเรียนแกนนำต้านยาเสพติด
  5. สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากสารเสพติดและอบายมุข
  2. ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษาลดลง
  3. การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษามีความเข้มแข็งและยั่งยืน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 5 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการป้องกันตนเองจากสารเสพติด จำนวน 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและรู้จักการป้องกันตนเองจากสารเสพติด

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากสารเสพติดและอบายมุข
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากสารเสพติดและอบายมุข
100.00

 

2 2. เพื่อให้ป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนโรงเรียนวัดปางแก้วปลอดสารเสพติด
100.00

 

3 3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุขในศึกษาให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนโรงเรียนวัดปางแก้วปลอดสารเสพติด
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากสารเสพติดและอบายมุข (2) 2. เพื่อให้ป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา (3) 3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุขในศึกษาให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดกรองนักเรียน (2) การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (3) สภานักเรียนแกนนำต้านยาเสพติด (4) สภานักเรียนแกนนำต้านยาเสพติด (5) สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสถานศึกษาสีขาว จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-l5169-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางงามเนตร ศรียะรัตน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดปรางแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด