กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายพงษ์ศักดิ์ เผือกสม

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3306-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กันยายน 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L3306-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กันยายน 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันคนไทยเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิตที่มีสาเหตุมาจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดเป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ  ซึ่งโรคไม่ติดต่อเหล่านี้ส่วนใหญ่มีสาเหตุหลักมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะพฤติกรรมด้านการบริโภคและพฤติกรรมการออกกำลังกาย รวมทั้งการที่ต้องเผชิญกับความเครียดจากปัญหาการดำเนินชีวิตในแต่ละวัน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาหรืออาจจะตลอดชีวิตและมีภาวะแทรกซ้อนอันตรายที่ตามมาหลายอย่าง เช่น อัมอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคหัวใจ ไตวาย เป็นต้น ซึ่งล้วนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอย่างหลีกไม่ได้ ดังนั้น การดำเนินการเพื่อยับยั้งหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่อาจจะนำไปสู่การเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโดยใช้กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและมีประโยชน์ ซึ่งสามารถลดอัตราป่วยลงได้อย่างมีนัยสำคัญ       การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ การมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม ร่วมกับมีพฤติกรรมสุขภาพอื่นๆที่จำเป็น เช่น การงดสูบบุหรี่ และดื่มแอลกอฮอล์ การพักผ่อนและการผ่อนคลายความเครียด เหล่านี้เป็นต้น การส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม ถือเป็นหัวใจสำคัญในการส่งเสริมและป้องกันการเกิดโรค โดยเฉพาะในประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่จะต้องได้รับการดูแลเพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคเหล่านี้ลงให้ได้ เนื่องจากประชาชนที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยในอนาคตค่อนข้างสูง ถ้าหากว่าไม่ได้รับการดูแลเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม การดำเนินการป้องกันการเกิดโรคโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องของพฤติกรรมการรับประทานอาหาร พฤติกรรมการออกกำลังกายและการมีสุขภาพจิตที่ดีนั้น สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและโรคอื่นๆลงได้ ในปัจจุบันมีการศึกษาพบว่า การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือวิถีการดำเนินชีวิต(Lifestyle intervention or Lifestyle modification ) สามารถชะลอหรือป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในอนาคตได้ โดยการออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ ๓๐ นาที่ขึ้นไป และการควบคุมอาหาร จนทำให้น้ำหนักตัวลดลงได้โดยประมาณร้อยละ ๖ ขึ้นไป สามารถลดอุบัติการณ์ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง(Incident case ) ได้ถึงร้อยละ ๔๐ – ๖๐ (คุณภาพระดับ ๑, น้ำหนักคำแนะนำ ++) นอกจากนั้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังช่วยลดภาระงานในการดูแลผู้ป่วยของบุคลากรทางสุขภาพและช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายด้านงบประมาณของหน่วยงานด้านสาธารณสุขอีกด้วย       จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ ในปีงบประมาณ ๒๕62 นั้น พบว่ามีประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๑๙ และกลุ่มที่สงสัยเป็นโรคคิดเป็นร้อยละ ๔.๗๖ ของผู้ที่มารับการตรวจคัดกรองทั้งหมด ด้วยเหตุนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขึ้น เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ได้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคอื่นๆลงได้ตามเป้าหมาย(ไม่เกินร้อยละ ๕ ของกลุ่มเสี่ยง)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง
  2. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไม่ติดต่ออื่นๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ต่อเนื่อง โดยประเมินดรรชนีมวลกาย วัดรอบเอว วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม สามารถดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัวให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆได้
๒. ชุมชนมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง สร้างและสนับสนุนสภาพแวดล้อมในชุมชนให้เอื้อต่อการมีสุภาวะที่ดี ๓. หน่วยบริการสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สุขภาพทุกระดับตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ ๔. ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึงและได้มาตรฐาน ครอบคลุมทุกมิติอย่างผสมผสานทั้งการดูแลส่งเสริมป้องกันโรคในระดับชุมชนและการให้บริการในสถานบริการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดประชุมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 23 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 130 คน

 

130 0

2. ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ต่อเนื่อง โดยประเมินดรรชนีมวลกาย วัดรอบเอว วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด

วันที่ 20 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามผู้ป่วย จำนวน 130 คน

 

130 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
0.00

 

2 เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไม่ติดต่ออื่นๆ
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงไม่เกินร้อยละ ๕
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 260
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 130
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง (2) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคไม่ติดต่ออื่นๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ต่อเนื่อง โดยประเมินดรรชนีมวลกาย  วัดรอบเอว วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L3306-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพงษ์ศักดิ์ เผือกสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด