กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู


“ โครงการจิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปี 2562 ”

ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปากู

ชื่อโครงการ โครงการจิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2988-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กันยายน 2562 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปี 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากู อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L2988-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กันยายน 2562 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สำนักงานสถิติแห่งชาติได้ทำการสำรวจจำนวนคนพิการในปี พ.ศ. 2550 พบว่าประเทศไทย มีประชากรที่มีความพิการจำนวน 1.9 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 ของประชากร ทั้งประเทศ และสำหรับจังหวัดนครราชสีมา มีผู้พิการทุกประเภทรวมกันทั้งหมด ในปี 2560 จำนวน 72,745 คน (กุมภาพันธ์ 2560, กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์) ในจำนวนนี้จัดเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหวมากที่สุดรองลงมาคือทางการได้ยินและการมองเห็น นอกจากนี้ยังมีผู้พิการอีกหลายประเภทที่อยู่ในชุมชนที่บางส่วนยังเข้าไม่ถึงระบบการดูแลที่เหมาะสม ทั้งผู้พิการทางสติปัญหา การเรียนรู้ ออทิสทิก หรือทางด้านจิตเวช ผู้พิการบางประเภทสามารถออกจากบ้านเพื่อการไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ และสามารถที่จะดำรงชีวิตด้วยตนเองได้บ้าง ตามศักยภาพที่สามารถทำได้ ในขณะที่อีกหลายประเภท หลายคนที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ และยังคงเป็นภาระให้กับผู้ดูแลหรือสมาชิกในครัวเรือนด้วย และนอกจากนี้ ยังพบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของความไม่เข้าใจ หรือทัศนคติที่เป็นด้านลบ ที่คนทั่วไป หรือญาติของคนพิการเอง ที่มองคนพิการว่า ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ไม่สามารถประกอบอาชีพ หรือทำกิจวัตรต่างๆ ด้วยตนเองได้ หากได้รับการดูแลหรือแนะนำที่เหมาะสม และยังมองว่า คนพิการก็ยังคงเป็นภาระของครอบครัวหรือผู้ดูแลอยู่ ซึ่งการมองคนพิการด้วยทัศนคติแบบนั้นอาจส่งผลกระทบต่อคนพิการในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะในด้านจิตใจ ที่อาจทำให้ผู้พิการเกิดความรู้สึกว่าตนเองเป็นภาระสังคมมากยิ่งขึ้นไปอีก ดังนั้นเพื่อลดปัญหาเรื่องความคิดทัศนคติ ความเข้าใจเกี่ยวกับคนพิการ ลดปัญหาเรื่องคนพิการที่ไม่มีคนดูแล โดยเฉพาะในกลุ่มที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ตลอดจนปัญหาเกี่ยวกับทางด้านสุขภาพจิตของคนพิการ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้จิตอาสา ที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดูแลคนพิการ ให้มีบุคลากรที่จะสามารถลงไปเยี่ยมคนพิการในครัวเรือน เพื่อแนะนำให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง ทั้งในเรื่องอาหาร การประกอบกิจวัตรต่างๆ การดูแลตนเองโดนเฉพาะเรื่องการป้องกันโรค ตลอดจนการสร้างขวัญและกำลังใจให้เกิดขึ้นกับทั้งคนพิการและคนดูแล เพื่อชี้ให้เห็นว่าคนพิการก็สามารถพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองได้ สามารถลดการพึ่งพิงจากคนรอบข้างได้ ถ้าได้รับการดูแลและพัฒนาทักษะที่เหมาะสมและจะสามารถช่วยลดปัญหาของครอบครัวที่ต้องดูแลลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจมีทัศนคติที่ดีในการดูแลคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน 2. เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และขาดการดูแล มีผู้ให้การดูแล 3. เพื่อให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้มีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 38
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 38
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจและมีทัศนะที่ดีในการดูแลคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน
    2. คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้และขาดการดูแล มีผู้ให้การดูแลสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจมีทัศนคติที่ดีในการดูแลคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน 2. เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และขาดการดูแล มีผู้ให้การดูแล 3. เพื่อให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้มีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจและมีทัศนะที่ดีในการดูแลคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน ร้อยละ 80 คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้และขาดการดูแล มีผู้ให้การดูแลสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 38
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 38
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจมีทัศนคติที่ดีในการดูแลคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและชุมชน 2. เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และขาดการดูแล มีผู้ให้การดูแล 3. เพื่อให้คนพิการสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้มีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปี 2562 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L2988-2-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปากู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด