โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเล๊าะสาแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-02-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2516-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลายลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวนขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด
พื้นที่ตำบลสาวอเป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้เลือดออกเรื่อยมา ซึ่งในปี พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา ตำบลสาวอ พบการระบาดของไข้เลือดออกมากเป็นอันดับหนึ่งในอำเภอรือเสาะ พบว่าบ้านบือเจาะมีจำนวนผู้ป่วย 5 ราย จากประชากรทั้งหมด 484 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1033.06 (ข้อมูลจากสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ : มกราคม 2560) ดังนั้นเพื่อไม่ให้มีการระบาดของไข้เลือดออก จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
- 2 ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
136
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
- มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
3 ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนให้ความสำคัญกับการกำจัดขยะในครัวเรือนและคัดแยกขยะเพื่อให้ครัวเรือนมีความสะอาดมากขึ้นไม่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของยุงที่เป็นสาเหตุสำคัญของโรคไข้เลือดออก
136
136
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานผลโครงการ
โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ดำเนินการโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสาวอ ที่อุดหนุนงบประมาณให้กับ ชมรมหมู่บ้านบือเจาะ ปลอดขยะ ปลอดโรค ชุมชนสุขภาพดี ได้ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่ เมื่อวันที่ 14 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 ณ.อาคารอเนกประสงค์มัสยิดบ้านบือเจาะ หมู่ที่5 ตำบลสาวอ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการครั้งนี้จำนวน 136 คน โดยได้รับการสนับสนุนวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ (นางนูรีดา เจ๊ะย๊ะ ตำแหน่ง ผอ.รพ.สตสาวอ) มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะ และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบๆบ้าน ให้มีความสะอาดและไม่มีแหล่งน้ำขัง เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก นอกจากนั้นยังได้หาแนวทางในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 3 ก. (เก็บขยะ เก็บบ้าน เก็บน้ำ ) แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ วิธีค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งที่ถูกวิธี แนะนำเทคนิคและวิธีการกำจัดขยะแต่ละประเภทให้มีความถูกต้องเหมาะสมและถูกวิธี เพื่อป้องกันสุขอนามัยของบุคคลในครอบครัว อีกทั้งยังเป็นรายได้เสริมให้ครอบครัวอีกด้วย โดยการขายขยะรีไซเคิล และขยะอินทรีย์ก็นำมาทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ที่ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมมาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรของครอบครัวอีกด้วย
นอกจากการให้ความรู้แก่ชุมชนแล้ว ทางชมรมฯยังได้แต่งตั้งคณะกรรมการ 1 ชุด เพื่อลงพื้นที่ตรวจประเมินบ้านว่าได้มีการกำจัดขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมหรือไม่ พร้อมทั้งแนะนำวิธีการในการรักษาความสะอาดบ้านให้ห่างไกลโรคไข้เลือดออกว่าต้องทำอย่างไรบ้าง นอกจากนั้นแล้วรับสมัครครอบครัวที่ยินดีเลี้ยงปลาหางนกยูงเป็นแหล่งขยายพันธุ์ เพื่อนำไปปล่อยตามแหล่งน้ำที่เสี่ยงต่อการวางไข่ของยุง เพื่อป้องกันการเพิ่มจำนวนของยุงอีกทางหนึ่ง
การจัดโครงการในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือด้วยดีจากประชาชนในพื้นที่และวิทยากรผู้ให้ความรู้ ทำให้โครงการในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์และประสบความสำเร็จ ประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนักและให้ความสำคัญเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการรักษาความสะอาดบริเวณบ้านและการคัดแยกขยะก่อนทิ้งมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
2
2 ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
136
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
136
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) 2 ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลเล๊าะสาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเล๊าะสาแม
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-02-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2516-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้างบางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลายลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวนขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด พื้นที่ตำบลสาวอเป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้เลือดออกเรื่อยมา ซึ่งในปี พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา ตำบลสาวอ พบการระบาดของไข้เลือดออกมากเป็นอันดับหนึ่งในอำเภอรือเสาะ พบว่าบ้านบือเจาะมีจำนวนผู้ป่วย 5 ราย จากประชากรทั้งหมด 484 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1033.06 (ข้อมูลจากสาธารณสุขอำเภอรือเสาะ : มกราคม 2560) ดังนั้นเพื่อไม่ให้มีการระบาดของไข้เลือดออก จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
- 2 ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 136 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
- มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 3 ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนให้ความสำคัญกับการกำจัดขยะในครัวเรือนและคัดแยกขยะเพื่อให้ครัวเรือนมีความสะอาดมากขึ้นไม่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของยุงที่เป็นสาเหตุสำคัญของโรคไข้เลือดออก
|
136 | 136 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานผลโครงการ
โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ดำเนินการโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสาวอ ที่อุดหนุนงบประมาณให้กับ ชมรมหมู่บ้านบือเจาะ ปลอดขยะ ปลอดโรค ชุมชนสุขภาพดี ได้ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่ เมื่อวันที่ 14 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 ณ.อาคารอเนกประสงค์มัสยิดบ้านบือเจาะ หมู่ที่5 ตำบลสาวอ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการครั้งนี้จำนวน 136 คน โดยได้รับการสนับสนุนวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาวอ (นางนูรีดา เจ๊ะย๊ะ ตำแหน่ง ผอ.รพ.สตสาวอ) มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดขยะ และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบๆบ้าน ให้มีความสะอาดและไม่มีแหล่งน้ำขัง เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก นอกจากนั้นยังได้หาแนวทางในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 3 ก. (เก็บขยะ เก็บบ้าน เก็บน้ำ ) แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ วิธีค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งที่ถูกวิธี แนะนำเทคนิคและวิธีการกำจัดขยะแต่ละประเภทให้มีความถูกต้องเหมาะสมและถูกวิธี เพื่อป้องกันสุขอนามัยของบุคคลในครอบครัว อีกทั้งยังเป็นรายได้เสริมให้ครอบครัวอีกด้วย โดยการขายขยะรีไซเคิล และขยะอินทรีย์ก็นำมาทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ที่ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมมาเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรของครอบครัวอีกด้วย
นอกจากการให้ความรู้แก่ชุมชนแล้ว ทางชมรมฯยังได้แต่งตั้งคณะกรรมการ 1 ชุด เพื่อลงพื้นที่ตรวจประเมินบ้านว่าได้มีการกำจัดขยะและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมหรือไม่ พร้อมทั้งแนะนำวิธีการในการรักษาความสะอาดบ้านให้ห่างไกลโรคไข้เลือดออกว่าต้องทำอย่างไรบ้าง นอกจากนั้นแล้วรับสมัครครอบครัวที่ยินดีเลี้ยงปลาหางนกยูงเป็นแหล่งขยายพันธุ์ เพื่อนำไปปล่อยตามแหล่งน้ำที่เสี่ยงต่อการวางไข่ของยุง เพื่อป้องกันการเพิ่มจำนวนของยุงอีกทางหนึ่ง
การจัดโครงการในครั้งนี้ได้รับความร่วมมือด้วยดีจากประชาชนในพื้นที่และวิทยากรผู้ให้ความรู้ ทำให้โครงการในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์และประสบความสำเร็จ ประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนักและให้ความสำคัญเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการรักษาความสะอาดบริเวณบ้านและการคัดแยกขยะก่อนทิ้งมากขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2 ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0) ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 136 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 136 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) 2 ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหมู่บ้านบือเจาะกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2516-02-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลเล๊าะสาแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......