กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63 - l5169 - 1 - 01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63 - l5169 - 1 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคไตเรื้อรัง (chronic kidney disease, CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกโดยรวมทั้งในประเทศไทยด้วย เนื่องจากเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร และมีการดำเนินของโรคไปสู่โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end-stage renal disease, ESRD) ที่ต้องได้รับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไตและการปลูกถ่ายไต (renal replacement therapy) จากการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่ามีความชุกของโรคจาก 12.3% ของประชากรในปีพ.ศ.2531-2537 เพิ่มขึ้นเป็น 14% ของประชากรในปีพ.ศ.2548-25531 ส่วนข้อมูลล่าสุดในประเทศไทย จากการศึกษา Thai SEEK Study โดยสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยในปีพ.ศ. 2522 โดยอาศัยการคำนวณอัตราการกรองของไตจากสมการ MDRD (Modificationof Diet in Renal Disease)3 พบว่ามีความชุกของโรคไตเรื้อรังในระยะที่ 1-5 เท่ากับ 17.5% ของประชากร โดยความชุกของโรคไตเรื้อรังจะเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น มีการกระจายตัวมากที่สุดในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลและที่สำคัญที่สุดคือ ประชากรส่วนใหญ่ไม่รู้ตัวว่าตนเองมีโรคไตเรื้อรังอยู่ จากรายงานประจำปีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาปี 2560 พบว่ามีผู้ป่วยที่รักษาด้วยโรคเบาหวาน 54,582 ราย และความดันโลหิตสูง 132,843 ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 44.91 มีภาวะแทรกซ้อนทางไต โดยแยกเป็นไตเสื่อมระยะที่ 3,4,5 ร้อยละ 35.08 ,8.59,11.90 ตามลำดับ(ฐานข้อมูล Healt Data Center ; HDC จังหวัดสงขลา ) และมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี จึงมีการตรวจคัดกรองภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดการเสื่อมของไตระยะที่3,4,5 และการรักษาโดยการบำบัดทดแทนไตและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยในกลุ่มนี้
โรงพยาบาลคลองหอยโข่ง มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนรักษาปี พ.ศ.2560 จำนวน 887 ราย และ 2,507ราย ตามลำดับ และมีผู้ป่วยไปรับบริการที่รพ.สต.เครือข่าย 4 แห่ง มีการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงให้ได้คุณภาพโดยมีการคัดกรองภาวะไตเสื่อมในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงปีละ 1-2 ครั้ง มี Nurse Case Manager1 คน มีส่วนช่วยในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ขาดโภชนากรในการดูแลเรื่องอาหารในกลุ่มผู้ป่วยที่มี นอกจากการให้ความรู้ทั่วไปในคลินิกแล้วยังมีการให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลในกลุ่มคนไข้ที่ตรวจพบ FBS > 200 mg% และตรวจ Lab DM ประจำปีพบ HbA1C > 10 mg/dl
และ เมื่อ วิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่ตำบลทุ่งลาน พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวนมากกว่าหน่วยงานอื่น มีการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 55.18และพบว่ามีภาวะแทรกซ้อนระยะ 4 และ 5 สูงสุดคือ 9.09 และ 19.48 ตามลำดับ มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะ 3 ร้อยละ 32.47 มีผลต่อค่าใช้จ่ายของผู้ป่วย ครอบครัวและคุณภาพชีวิต ประกอบกับโรงพยาบาลไม่มีนักโภชนากรดังนั้นพยาบาลที่ให้คำปรึกษาเฉพาะ ต้องมีองค์ความรู้และมีความมั่นในในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวซึ่งมีผลต่อคุณภาพการดูแล และเมื่อส่งผู้ป่วยไป รพ.สต. พยาบาลที่รพ.สต. ยังขาดความมันใจในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว ดังจึงมีความจำเป็นจะต้องเตรียมเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วยและครอบครัวในการชะลอการเสื่อมของไต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อชะลอการเสื่อมของไตจากระยะที่ 3 ไปเป็นไตเสื่อมระยะที่ 4 และ 5 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 และสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ ยาที่และผลข้างเคียงของการใช้ยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะ ที่3 และสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม รณรงค์ จัดบริการ การจัดซื้อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระยะที่ 3 ได้รับความรู้และมีพฤติกรรมการการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถประเมินปัญหาอุปสรรค และความสำเร็จในการดูแลตนเองเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ และสามารเข้าถึงแหล่งประโยชน์ในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม รณรงค์ จัดบริการ การจัดซื้อ

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อชะลอการเสื่อมของไตจากระยะที่ 3 ไปเป็นไตเสื่อมระยะที่ 4 และ 5 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 และสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ ยาที่และผลข้างเคียงของการใช้ยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะ ที่3 และสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : - จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 คน - ผู้เข้าร่วมประชุมพึงพอใจระดับมาก มากกว่าร้อยละ 80 - ประเมินความรู้ก่อนและหลัง และ ระดับ eGFR เพิ่มขึ้น - พยาบาลมีความรู้และความมั่นใจเพิ่มขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อชะลอการเสื่อมของไตจากระยะที่ 3 ไปเป็นไตเสื่อมระยะที่ 4 และ 5  2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3 และสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและญาติที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะที่ 3  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ ยาที่และผลข้างเคียงของการใช้ยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนไตเสื่อมระยะ ที่3 และสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม รณรงค์ จัดบริการ การจัดซื้อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63 - l5169 - 1 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสิน กลับกลาย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด