กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวดวงใจ เพชรดำ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5282-02-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นตัวอย่างทันท่วงที
(2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและนำกลุ่มเสี่ยงไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
(3) เพื่อสร้างแกนนำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
หมู่ที่2 จำนวนผู้คัดกรอง 979 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.80 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 383 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.12 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.74

หมู่ที่3 จำนวนผู้คัดกรอง 556 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.46 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.73 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 291 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.38
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.61

หมู่ที่5 จำนวนผู้คัดกรอง 840 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.71 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 380 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.23 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.57
หมู่ที่8 จำนวนผู้คัดกรอง 273 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.37

ปัญหาอุปสรรค
1. การดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมตรวจคัดกรองไม่สามารถดำเนินการคัดกรองได้ 100 เปอร์เซ็น เนื่องจากประชากรเป้าหมายไม่ได้อยู่ในพื้นที่หรือที่บ้านทุกวันเนื่องจากมีภาระกิจงานนอกบ้านจากเช้า-เย็น

  1. กลุ่มเป้าหมายย้ายไปอยู่ต่างจังหวัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายดดยอสม. ประจำครัวเรือนอย่างถี่ถ้วนมากขึ้น

  1. หาแนวทางแก้ไขปัญหากลุ่มทำงานนอกบ้านแต่หัวรุ่งร่วมกันเพื่อให้ได้รับการคัดกรองครบถ้วน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ปรากฏอาการและเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกายเช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักาาอย่างต่อเนื่อง และยาวนานมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต บ้านผัง 34 ปรับกลวิธีการดำเนินงานด้านค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ โดยการดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรคโดยใช้เครือข่ายระหว่าง รพ.สต.กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพราะการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชน จะประสบความสำเร็จมีประสิทะิภาพ และเกิดความต่อเนื่องยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายประชาชนที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการที่เชื่อมโยงการดำเนินงาน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ และการแก้ปัญหาดังกล่าว กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านผัง 34 จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2563 ขึ้น โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป เพื่อขยายฐานการตรวจคัดกรอง ค้นหาโรค และเพื่อให้ประชาชนได้ ขเาถึงการบริการ การตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตราฐาน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแล สุขภาพพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นตัวอย่างทันท่วงที
  2. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและนำกลุ่มเสี่ยงไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เพื่อสร้างแกนนำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการตรวจคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 2,540
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรังและการเข้ารักษาในโรงพยาบาลได้

2.ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการรักาาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามสภาวะโรค

3.ประชาชนสามารถประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองได้

4.เพื่อจะนำข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวัง และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการตรวจคัดกรอง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมแกนนำสุขภาพ อสม. และผู้ที่เกี่ยวข้องชี้แจงการดำเนินโครงการ

2.จัดทำทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย อายุ 15 ปี ขึ้นไป

3.ลงพื้นที่ รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเป้าหมายการคัดกรองและแจ้งผลการคัดกรอง

4.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รณรงค์ อบรมให้ความรู้การป้องกันด้วยหลัก 3 อ. 2ส.โดยการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงหมู่ละ 30 คน

5.ติดตามกลุ่มเป้าหมายด้วยการเจาะเลือด วัดความดันโลหิตซ้ำ ทุก 4 เดือน

6.กรณีพบกลุ่มเสี่ยงเกิดโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง รายงานต่อ รพ.สต และส่งต่อเพื่อรักษาที่ถูกต้องต่อไป

7.ประเมินผล และสรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการตามบันทึกข้อตกลงการรับเงินอุดหนุนเลขที่ 1/2563 วันที่ 28 ตุลาคม 2562 ได้เริ่มดำเนินการตามวัตถุปรพสงค์ของโครงการเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 และเสร็จเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2563 จำนวนเงิน 91,205 บาท ของการดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป
  • ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเอกสารใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานอื่นจำนวน 12 ฉบับ มาพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป

สรุปผลการคัดกรองโรคเบาหวาน-ความดัน ประจำปีงบประมาณ 2563

หมู่ที่2 จำนวนผู้คัดกรอง 979 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.80 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 383 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.12 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.74

หมู่ที่3 จำนวนผู้คัดกรอง 556 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.46 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.73 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 291 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.38
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.61

หมู่ที่5 จำนวนผู้คัดกรอง 840 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.71 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 380 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.23 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.57
หมู่ที่8 จำนวนผู้คัดกรอง 273 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.37

 

2,540 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอรายงานผลการดำเนินงานโครงการตามบันทึกข้อตกลงการรับเงินอุดหนุนเลขที่ 1/2563 วันที่ 28 ตุลาคม 2562 ได้เริ่มดำเนินการตามวัตถุปรพสงค์ของโครงการเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 และเสร็จเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2563 จำนวนเงิน 91,205 บาท ของการดำเนินการตามโครงการที่ได้รับเงินอุดหนุนพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป
  • ผู้ได้รับเงินอุดหนุนขอส่งเอกสารใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานอื่นจำนวน 12 ฉบับ มาพร้อมหนังสือนี้เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป

สรุปผลการคัดกรองโรคเบาหวาน-ความดัน ประจำปีงบประมาณ 2563

หมู่ที่2 จำนวนผู้คัดกรอง 979 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.80 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 383 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.12 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.74

หมู่ที่3 จำนวนผู้คัดกรอง 556 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.46 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.73 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 291 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.38
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.61

หมู่ที่5 จำนวนผู้คัดกรอง 840 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.71 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 380 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.23 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.57
หมู่ที่8 จำนวนผู้คัดกรอง 273 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.37

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นตัวอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย(อายุ15 ปีขึ้นไป) ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงอย่างน้อยร้อยละ 90 2. ผู้ป่วยรายใหม่จากผลการตรวจคัดกรองได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อรักษาที่ถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและนำกลุ่มเสี่ยงไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายผู้ผ่านการตรวจฯ ทราบระดับความเสี่ยงต่อโรคเบหวานและความดันโลหิตสูงของตนเอง ร้อยละ100 2.กลุ่มเป้าหมายผู้มีผลการคัดกรองมีความเสี่ยงได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100
0.00

 

3 เพื่อสร้างแกนนำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
ตัวชี้วัด : ทักษะ ความเชี่ยวชาญ และการแปรผล จากข้อมูลการตรวจกรองของ อสม.มีความถูกต้อง ร้อยละ 95
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2540 2466
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,540 2,466
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นตัวอย่างทันท่วงที
(2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและนำกลุ่มเสี่ยงไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
(3) เพื่อสร้างแกนนำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
หมู่ที่2 จำนวนผู้คัดกรอง 979 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.80 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.04 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 383 ราย คิดเป็นร้อยละ 39.12 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.74

หมู่ที่3 จำนวนผู้คัดกรอง 556 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 24.46 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.73 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 291 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.38
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.61

หมู่ที่5 จำนวนผู้คัดกรอง 840 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.71 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 380 ราย คิดเป็นร้อยละ 45.23 - ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 6 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.57
หมู่ที่8 จำนวนผู้คัดกรอง 273 ราย พบความเสี่ยงเบาหวานจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51 - ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยเป็นเบาหวานจำนวน 0 ราย คิดเป็นร้อยละ 0 พบความเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.51
- ได้รับการวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.37

ปัญหาอุปสรรค
1. การดำเนินงานตามโครงการกิจกรรมตรวจคัดกรองไม่สามารถดำเนินการคัดกรองได้ 100 เปอร์เซ็น เนื่องจากประชากรเป้าหมายไม่ได้อยู่ในพื้นที่หรือที่บ้านทุกวันเนื่องจากมีภาระกิจงานนอกบ้านจากเช้า-เย็น

  1. กลุ่มเป้าหมายย้ายไปอยู่ต่างจังหวัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายดดยอสม. ประจำครัวเรือนอย่างถี่ถ้วนมากขึ้น

  1. หาแนวทางแก้ไขปัญหากลุ่มทำงานนอกบ้านแต่หัวรุ่งร่วมกันเพื่อให้ได้รับการคัดกรองครบถ้วน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พื้นที่ รพ.สต.บ้านผัง 34 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5282-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวดวงใจ เพชรดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด