กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด


“ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้เลี้ยงดู และผู้ปกครอง ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย ”

ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายรุ่งศักดิ์จอสกุล

ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้เลี้ยงดู และผู้ปกครอง ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5311-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้เลี้ยงดู และผู้ปกครอง ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้เลี้ยงดู และผู้ปกครอง ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้เลี้ยงดู และผู้ปกครอง ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5311-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,970.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปี๒๕๕๙ รัฐบาลได้กำหนดนโยบายเพื่อเป็นทิศทาง การขับเคลื่อนประเทศ ๑๑ ประเด็น และการดูแลสุขภาพประชาชน สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลข้อ ๕ การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน กระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานหลักที่ดูแลสุขภาพประชาชนทุกช่วง ชีวิต ได้กำหนดแผนบูรณาการยุทธศาสตร์ สุขภาพ ๑๕ ด้าน โดยเฉพาะด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มเด็ก กลุ่มสตรี และเด็กปฐมวัย เป็นประเด็นที่ตอบสนองต่อการพัฒนาสาธารณสุข ตามแนวพระราชดำริ และโครงการเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเป็นประเด็นสำคัญ ที่ต้องการลดปัจจัยเสี่ยงของสุขภาพตามกลุ่มวัย โดยเฉพาะเด็กกลุ่ม ๐-๕ ปี ให้มีพัฒนาการที่สมวัย โดยเน้นการบูรณาการกับหน่วยงาน ภายในที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานภายนอก อาทิ ภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน และประชาชน เพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบายมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ สนองพระราชดำริ เป็นไปอย่างเข้มแข็งและมีความยั่งยืน ตอบสนองแผนงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก และเพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จ พระเทพรัตน ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยมีเป้าหมายมุ่งเน้นให้เด็กไทยทุกคน ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้อง มีมาตรฐานอย่างเท่าเทียม จากพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู ชุมชน ตลอดจนการบูรณาการแผนงานของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทย ให้เป็นไปตามศักยภาพ หรือมีศักยภาพที่สูงกว่า ประเทศไทย ในช่วงปี ๒๕๔๒–๒๕๕๘กรมอนามัยได้ดำเนินการสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัยทุก ๓ปียังคงพบเด็กที่มีข้อสงสัยล่าช้าด้านพัฒนาการ มีแนวโน้มที่สูงถึงร้อยละ ๓๐จากการสำรวจของตั้งสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า มีเพียง ร้อยละ ๒๐ของพ่อแม่/ผู้ดูแลเด็กที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าโรงเรียนของเด็ก (สำนักงานสถิติแห่งชาติ ๒๕๕๕) ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เด็กไทยจำนวนมากมีระดับพัฒนาการตามศักยภาพต่ำกว่าที่ควรจะเป็นปี ๒๕๕๖กระทรวงศึกษาธิการรายงานเด็กป. ๔-๖จำนวนร้อยละ ๑๐-๑๕อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และในปี ๒๕๕๗สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชนสสค. ได้รายงานผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขัน พบว่า ไทยอยู่อันดับที่ ๒๙จาก ๖๐ประเทศ ซึ่งลดลง ๒อันดับจากปี ๒๕๕๖และจากรายงานผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก อายุ ๔๒ เดือน โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยวิธีการสุ่มคัดกรอง ระหว่างวันที่ วันที่ ๖-๑๐กรกฎาคม๒๕๕๘พบว่า เขตสุขภาพที่ ๑๒ มีเด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าเป็นอันดับสองของประเทศ ร้อยละ ๓๐.๘๓ (N=๖,๓๙๖)จังหวัดสตูล ร้อยละ ๔๕.๒๖(N=๔๒๒) อำเภอละงู ร้อยละ ๕๗.๙๒ (N=๙๖) และระดับตำบล (เขต รพ.สต.น้ำผุด) ร้อยละ ๑๑.๗๘ (N=๑๗) ตามลำดับ


จากสถานการณ์และความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เพื่อให้การขับเคลื่อนงานและพัฒนาระบบบริการ ด้านส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมาย โดยมีภาคี เครือข่ายในชุมชนรับรู้สถานการณ์ปัญหาและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยไทร ตำบลละงู จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ผู้เลี้ยงดู และผู้ปกครอง ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยในชุมชน ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ขึ้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการสนับสนุนให้เด็กในพื้นที่รับผิดชอบมีพัฒนาการสมวัย เพื่อที่จะเติบใหญ่เป็นคนไทยที่มีคุณภาพ และมีคุณค่าต่อสังคมและประเทศชาติสืบไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเชี่ยวชาญการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กแก่อาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่
  2. ๒. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่
  3. ๓. เพื่อฝึกทักษะการคัดกรองพัฒนาการเด็ก
  4. ๔. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมพัฒนาการเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 182
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับการเฝ้าระวังตรวจประเมินพัฒนาการร้อยละ ๑๐๐ ๒. เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการติดตามตรวจคัดกรองและแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดฝึกอบรมให้ความรู้โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

    วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ฝึกอบรมให้ความรู้โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย และเอกสาร กิน กอด เล่น เล่า (2ก 2 ล) กับลูกแรกเกิด - 5 ปี  โดยกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย อสม.ประจำ รพ.สต.น้ำผุด  ผู้ปกครอง  ครูศพด. ในพื้นที่ หมู่ 4,5,6,9,10,11 โดยผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง เรื่องการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

     

    182 182

    2. ฝึกทักษะการคัดกรองพัฒนาการเด็ก

    วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสม.ผู้ปกครอง ครูศพด. สามารถฝึกทักษะและเข้าใจการคัดกรองพัฒนาการเด็ก  จนวน 160 คน

     

    160 160

    3. ประชุมคืนข้อมูลผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แจ้งผลการดำเนินการ การคัดกรองพัฒนาการและการฝึกทักษะให้กับครู ศฑด. อสม. ตัวแทนภาคีเครือข่าย  จำนวน 50  คน  และได้จัดทำทะเบียนเด็กปฐมวัยในพื้นที่  พร้อมกับแจ้งแนวทางการประสานงานเมื่อพบเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผู้เข้าร่วมโครงการ  จำนวน  182  คน  คิดเป็นร้อละ  100  โดยกลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย  อสม. รพ.สต.น้ำผุด , ครู ศพด. ผู้ปกครอง ในพื้นที่    หมู่ที่ 4 , 5 , 6 , 9 , 10 , 11
    2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กและคัดกรองพัฒนาการเด็ก คิดเป็นร้อยละ  100
    3. อสม. และ ครูศพด.ได้ฝึกทักษะการคัดกรองพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ  100
    4. เด็กปมวัย 0-5 ปี ทุกคนได้รับการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองพัฒนาร้อยละ  100
    5. เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการไม่สมวัย ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการจากผู้ปกครองอย่างเหมาะสม  คิดเป็นร้อยละ  100
    6. เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการไม่สมวัย ได้รับการติดตามตรวจคัดกรองพัฒนาการและส่งต่อ คิดเป็นร้อยละ  100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเชี่ยวชาญการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กแก่อาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กร้อยละ 80

     

    2 ๒. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยได้รับการตรวจคัดกรองอย่างเหมาะสม ร้อยละ 100

     

    3 ๓. เพื่อฝึกทักษะการคัดกรองพัฒนาการเด็ก
    ตัวชี้วัด : อสม.สามารถเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่ได้ร้อยละ 100

     

    4 ๔. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมพัฒนาการเด็ก
    ตัวชี้วัด : อสม. ผู้ปกครองสามารถฝึกทักษะการคัดกรองพัฒนาการเด็กได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 182
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 182
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเชี่ยวชาญการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กแก่อาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ (2) ๒. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กในพื้นที่ (3) ๓. เพื่อฝึกทักษะการคัดกรองพัฒนาการเด็ก (4) ๔. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมพัฒนาการเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ผู้เลี้ยงดู และผู้ปกครอง ด้านการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5311-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายรุ่งศักดิ์จอสกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด