กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2563 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพรภิรมย์ ด้วงเล็ก

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3351-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสุขภาพของประชากรในประเทศไทย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากรายงานสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พบว่า ความชุกของโรคเบาหวานในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 6.9 ในปี พ.ศ.2552 เป็น ร้อยละ 8.9 ในปี พ.ศ.2557 และความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากเกือบ 4 ล้าน ในปี 2556 เป็นเกือบ 6 ล้านคนในปี 2561 และอีกเกือบครึ่งหนึ่งไม่ทราบว่าตนเองป่วย อีกทั้งแนวโน้มผู้ที่เสียชีวิตจากโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอีกด้วย (สำนักโรคไม่ติดต่อ 2561) ซึ่งปัญหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมที่สะสมเป็นเวลาหลายปี เช่น การรับประทานอาหารที่มีโซเดียมสูง รับประทานอาหารที่มีน้ำตาลสูงการสูบบุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย ภาวะอ้วนลงพุง ภาวะเครียดสะสม การดื่มเครื่องแอลกอฮอล์ ประกอบกับการมีอายุที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการมีพ่อ แม่ ญาติพี่น้องสายตรงเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ทำให้เป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการป่วยโรคดังกล่าวมากกว่าอีกกลุ่ม กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญกับโรคเรื้อรังดังกล่าว เนื่องจากหากมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลทั้งของหน่วยงานราชการและเศรษฐกิจครอบครัวของผู้ป่วยเอง ยิ่งผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจ ภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา ปลายประสาท และเท้า เป็นต้น อัตราการเสียชีวิต และทุพพลภาพจะเพิ่มขึ้นสำหรับจังหวัดพัทลุง ในปีงบประมาณ 2562 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด 12,275 คน คิดเป็นอัตราป่วย 10,128.63 ต่อแสนประชากร เป็นผู้ป่วยรายใหม่ 737 คนคิดเป็นอัตราป่วย 608.13 ต่อแสนประชากรผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 28,085 คน คิดเป็นอัตราป่วย 23,174.16 ต่อแสนประชากร เป็นผู้ป่วยรายใหม่ 1,606 คนคิดเป็นอัตราป่วย 1,325.18 ต่อแสนประชากร(HDC 2562)
ปีงบประมาณ 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย มีอัตราป่วยโรคเบาหวาน 43.11 ต่อพันประชากรและอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง 110.39 ต่อพันประชากร ซึ่งได้ดำเนินการตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขมาอย่างต่อเนื่องทุกปี คือการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของประชากรทั้งหมดที่รับผิดชอบ หรือผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุงแม้อายุไม่ครบ 35 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ความครอบคลุมของการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2562 เท่ากับ ร้อยละ 95.4 พบผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จำนวน 16 คน (ร้อยละ 1.75)กลุ่มเสี่ยง 111 คน (ร้อยละ 10.10)พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 36 คน (ร้อยละ 3.94) กลุ่มเสี่ยง 162 คน (ร้อยละ 17.74) (HDC 2562) การคัดกรองเป็นการทำงานเชิงรุก เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการวินิจฉัยและเข้าสู่ระบบการรักษาที่รวดเร็ว สำหรับกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในปีถัดไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จึงจัดโครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ปี 2563 ขึ้น เป็นการทำงานเชิงรุกเพื่อสร้างองค์ความรู้ และกระตุ้นให้ประชากรรับรู้ความรุนแรงของโรคเรื้อรัง และรับรู้สถานะสุขภาพของตนเอง เพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการทุกคนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2563
  2. ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (สมัครใจเข้าร่วมโครงการ)
  3. ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,292
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หน่วยบริการสามารถจัดบริการสุขภาพให้เหมาะสมกับกลุ่ม (กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย) ตามผลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
2.กลุ่มเสี่ยงที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทุกคน 3.ลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง ไม่เกินร้อยละ 7 และโรคเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 3


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2563

วันที่ 6 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุทางการแพทย์
คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดซื้อวัสดุทางการแพทย์ -มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ  1492  ราย

 

0 0

2. ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 29 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมและคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย  ร้อยละ  100

 

0 0

3. ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (สมัครใจเข้าร่วมโครงการ)

วันที่ 20 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม  จำนวน  100  คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จัดโครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2563 เป็นการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในหมู่ที่ 2, 3 ,4, 5, 6 และ 8
ลักษณะกิจกรรม : คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานโดยการเจาะ DTX อบรมกลุ่มเสี่ยงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และติดตามกลุ่มเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ผลการดำเนินงาน ในปี 2563 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั้งหมด 1,292 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 1,534 คน ซึ่งแบ่งกลุ่มที่ได้รับการคัดกรอง เป็น 3 กลุ่ม คือ ปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วย สำหรับกลุ่มส่งพบแพทย์ คือ ผู้ป่วยสงสัยป่วยเมื่อติดตามแล้วระดับความดันโลหิตสูงยังเกินค่ามาตรฐานจึงส่งพบแพทย์ในเครือข่าย รพ.พัทลุง และแพทย์วินิจฉัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ผลการดำเนินงานกิจกรรมที่ 1 คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
จากการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,200 คน จากประชากรทั้งหมด 1,292 คน คิดเป็นร้อยละ 92.88 คน แบ่งเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 87.50 กลุ่ม เสี่ยง 8.92 กลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 3.58 และในปี 2563 มีผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 0.33 จากประชากรที่ได้รับการคัดกรองทั้งหมด ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2563
ประชากรทั้งหมด (คน) คัดกรอง
(คน) ผลการคัดกรอง ส่งพบแพทย์ (รายใหม่) กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย
1,292 1,200
(92.88 %) 1,050
(87.50 %) 107 (8.92 %) 43 (3.58 %) 4 (0.33 %) - ปกติ หมายถึง ค่าความดันโลหิต >50 - 50 - < 85 mmHg - เสี่ยง หมายถึง ค่าความดันโลหิต >= 130 - < 140 mmHg / >= 85 - < 90 mmHg - สงสัยป่วย หมายถึง ค่าความดันโลหิต >= 140 - < 180 mmHg / >= 90 - < 110 mmHg - ป่วย (ส่งพบแพทย์) หมายถึง ค่าความดันโลหิต >= 180 mmHg / >= 110 mmHg





จากการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,200 คน จากประชากรทั้งหมด 1,292 คน คิดเป็นร้อยละ 92.88 คน แบ่งเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 87.50 กลุ่ม เสี่ยง 8.92 กลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 3.58 และในปี 2563 มีผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 0.33 จากประชากรที่ได้รับการคัดกรองทั้งหมด ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 2 ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน ปีงบประมาณ 2563

ประชากรทั้งหมด (คน) คัดกรอง
(คน) ผลการคัดกรอง ส่งพบแพทย์ (รายใหม่) กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย
1,292 1,200
(92.88 %) 1,059 (88.25 %) 123 (10.25 %) 18 (1.50 %) 3 (0.25 %) ตรวจน้ำตาลโดยอดอาหาร - ปกติ    หมายถึง ระดับน้ำตาล >=70 -  100 -  125 mg% ตรวจน้ำตาลโดยไม่อดอาหาร - ปกติ    หมายถึง ระดับน้ำตาล >= 70 -  140 -  200 mg% ผลการดำเนินงานกิจกรรมที่ 2และ 3 ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง (สมัครใจเข้าร่วมโครงการ) และติดตามระดับน้ำตาลในเลือดระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง จำนวน 100 คน (สมัครใจเข้าร่วมโครงการ) ของกลุ่มประชากรที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึ่งใน 100 คน มีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 100 คน และใน 100 คน เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานร่วมด้วย จำนวน 25 คน
ตารางที่ 3 ผลการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง (จำนวน 100 คน) กลุ่มเสี่ยงโรค จำนวนกลุ่มเสี่ยง(คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่ผลการติดตามลดลง (คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมาย ที่ผลการติดตามยังไม่ลดลง (คน) กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 25 22 (88.00 %) * 3 (12.00 %)* กลุ่มเสี่ยงความดันหิตสูง 100 88 (88.00 %) 12 (12.00 %) หมายเหตุ * ร้อยละคิดจากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
4.00 1163.00 1,534.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการทุกคนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการทุกคนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
4.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1292 1534
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,292 1,534
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการทุกคนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2563 (2) ให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (สมัครใจเข้าร่วมโครงการ) (3) ติดตามระดับน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปี 2563 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-01-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรภิรมย์ ด้วงเล็ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด