กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการหนูน้อยของแม่ปลอดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนปี 2563 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวหทัยรัตน์ สติรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยของแม่ปลอดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63 - L2479 - 1 - 04 เลขที่ข้อตกลง 31/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยของแม่ปลอดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยของแม่ปลอดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยของแม่ปลอดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63 - L2479 - 1 - 04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กเด็กทุกคนควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบชุดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุขแม้ว่าประเทศไทยจะมีมาตรการในการรณรงค์แก้ไขปัญหาการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ก็ยังมีเด็กในพื้นที่อีกจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานดังกล่าวและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆทั้งที่การฉีดวัคซีนสามารถช่วยชีวิตและสามารถป้องกันความพิการในเด็กได้และก่อประโยชน์ต่อทั้งเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากช่วยลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและรัฐบาลในการรักษาและช่วยทำให้เกิดความปลอดภัยต่อสุขภาวะของประชาชนโดยรวมจากการรับวัคซีนที่ครอบคลุมและทั่วถึง ผลของการขาดความตระหนักของผู้ปกครองผลข้างเคียงหลังการได้รับวัคซีนในเด็กความเชื่อและความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับวัคซีนในกลุ่มประชากรมุสลิมส่วนใหญ่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กและระบบสาธารณสุขในพื้นที่มาอย่างยาวนานดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการให้ความรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อประชาชนในพื้นที่มีความรู้เรื่องวัคซีนโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนโอกาสเกิดโรคความเสี่ยงการรักษาผลกระทบและทางเลือกในการป้องกันด้วยการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคต่างๆ และยังต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องและชัดเจนเกี่ยวกับหลักเจตนารมณ์ของอิสลามหลักการทางศาสนาสิทธิและคุณค่าในตัวบุคคลและมีความตระหนักช่วยกันดูแลบุตรหลานให้ได้รับการดูแลป้องกันและรักษาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้บรรลุผลต่อไป จากผลการดำเนินงานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิตอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาสในปี 2562 พบว่า ยังมีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดได้วิเคราะห์สาเหตุที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เนื่องจากผู้ปกครองขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของการรับวัคซีนนำเด็กมาฉีดวัคซีนช้ากว่ากำหนดจึงทำให้เข็มต่อไปช้าไปด้วยผู้ปกครองกลัวเด็กมีไข้หลังจากได้รับวัคซีนผู้ปกครองไม่มีเวลาและบางรายไม่สามารถติดตามได้เนื่องจากเด็กติดตามผู้ปกครองไปทำงานนอกพื้นที่จากปัญหาดังกล่าวจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขต้องมีการให้ความรู้สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองบิดามารดานำเด็กมาฉีดวัคซีนตามนัดและให้เด็กได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต ได้เล็งเห็นถึงปัญหา จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการดำเนินการให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ปกครองและสร้างแรงจูงใจกระตุ้นให้ผู้ปกครองนำบุตรมาฉีดวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์อายุ จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยของแม่ปลอดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2563ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิตอำเภอเจาะไอร้องจังหวัดนราธิวาส

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. -เพื่อให้เด็กเด็กที่มีอายุครบ 5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 5
  2. - เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ มากกว่าร้อยละ 95
  3. -ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่เขตรับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.จัดอบรมให้ความรู้
  2. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ไม่นำบุตรมาฉีดวัคซีนตามนัด
  3. ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บูกิต ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

2.เด็กอายุครบ 5 ปี ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บูกิตได้รับวัคซีนครบชุด เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 5

3.ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนเพิ่มมากขึ้น

4.ผู้ปกครองมีความตระหนักในการที่จะนำบุตรหลานมารับบริการวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์อายุ

5.เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุมากกว่าร้อยละ 95


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑.จัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 70 คน X 25 บาทX2 มื้อ เป็นเงิน 3,500บาท ค่าอาหารกลางวันจำนวน 70 คนX 60 บาท X 1 วัน เป็นเงิน 4,200 บาท ค่าวิทยากร จำนวน 1 คนx 5 ชม. เป็นเงิน 3,000 บาท ค่าไวนิล ขนาด 1.2 X 2 เมตรเป็นเงิน 600 บาท ค่าวัสดุดำเนินการโครงการเป็นเงิน 4,200 บาท ตามเอกสารแนบท้าย

 

70 0

2. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ไม่นำบุตรมาฉีดวัคซีนตามนัด

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ไม่นำบุตรมาฉีดวัคซีนตามนัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

 

0 0

3. ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 10 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 -เพื่อให้เด็กเด็กที่มีอายุครบ 5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 5
ตัวชี้วัด : เด็กเด็กที่มีอายุครบ 5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์
95.00 95.00

 

2 - เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ มากกว่าร้อยละ 95
ตัวชี้วัด : 1.เด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ มากกว่าร้อยละ 95 2.เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ มากกว่าร้อยละ 95 3.เด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ มากกว่าร้อยละ 95 4.เด็กอายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ มากกว่าร้อยละ 95
95.00 95.00

 

3 -ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่เขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : -ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่เขตรับผิดชอบ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) -เพื่อให้เด็กเด็กที่มีอายุครบ 5 ปีได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 5 (2) - เด็กอายุ 0-5 ปี  ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุ  มากกว่าร้อยละ  95 (3) -ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่เขตรับผิดชอบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.จัดอบรมให้ความรู้ (2) ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ไม่นำบุตรมาฉีดวัคซีนตามนัด (3) ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยของแม่ปลอดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63 - L2479 - 1 - 04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวหทัยรัตน์ สติรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด