กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖๐

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด


“ โครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖๐ ”

ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายรุ่งศักดิ์ จอสกุล

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5311-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖๐ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5311-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้มาลาเรียยังคงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุข ส่วนมากพบในพื้นที่ที่มีบริเวณเป็นภูเขาสูง ป่าทึบ สวนยางพารา แหล่งน้ำธรรมชาติหรือเขาชันมีลำธาร โดยยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรีย จากสถานการณ์โรคของจังหวัดสตูล พบว่า อำเภอละงูตำบลน้ำผุด จำนวนผู้ป่วยตั้งแต่ ตั้งแต่ ๓๑ ธ.ค. ๕๒ ถึง ๓๐ พ.ค. ๕๓ พบผู้ป่วยจำนวน ๑๓๐ ราย ประกอบด้วย พื้นที่ หมู่ที่ ๔ , ๕ , ๖ , ๑๐ ตำบลน้ำผุด และพบมากที่สุดคือหมู่ที่ ๑๐ บ้านวังนาใน กลุ่มประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ระบาดในช่วง เดือน เมษายน – กรกฎาคม โดยสาเหตุของการแพร่ระบาดพบว่า เกิด index case มานานแต่เพิ่งตื่นตัวเมื่อมีการระบาดใหญ่ , บุคลากรมีความรู้ด้านการควบคุมไข้มาลาเรียน้อย , ไข้มาลาเรียยังคงเป็น Vertical Program แต่มีอัตรากำลังในการควบคุมการระบาดน้อย , มีปัญหาการดำเนินการระหว่างพื้นที่ / อปท. และ ผู้ประกอบการ (ข้อมูลจาก งานระบาดวิทยา สสจ.สตูล)
ในการนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำผุด จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อและ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูลปี ๒๕๖๐ ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ ม.๑๐ เป็นพื้นที่ ท่องเที่ยวใหม่ ของจังหวัดสตูล ซึ่งได้รับการโปรโมท จาก ททท. ในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา มีกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สำคัญ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การล่องแก่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้ อสม. และผู้ประกอบการท่องเที่ยวในพื้นที่ มีความรู้เรื่องการควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ งานด้านอาหารปลอดภัย
  2. ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่
  3. ๓.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเข้าร่วมสมัครโครงการอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว
  4. ๔.เพื่อให้เกิดความร่วมมือในชุมชนในการดำเนินงานควบคุมป้องป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่ มีเครือข่ายการเฝ้าระวังในพื้นที่โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ค้นหาผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. อสม. และผู้ประกอบการท่องเที่ยวในพื้นที่ มีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่และเรื่องอาหารปลอดภัย
    ๒. เกิดความร่วมมือในชุมชนในการดำเนินงานควบคุมป้อง ป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่ เพิ่มเครือข่ายการเฝ้าระวังในพื้นที่โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ค้นหาผู้ป่วยหรือนักท่องเที่ยว ๓. เกิดความร่วมมือ เครือข่าย อาหารปลอดภัยในแห่ลงท่องเที่ยว ๔. เกิดภาคีเครือข่ายการเฝ้าระวังโรค ในชุมชน ๕. เกิดภาคีเครือข่าย ผู้ประกอบการ อาหารปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้การควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่งานด้านอาหารปลอดภัย

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน  60  คนโดยกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยผู้ประกอบการล่องแก่ง  ในพื้นที่  หมู่ที่ 4 , 10 อสม.หมู่ที่ 4 , 1
    2. ผู้เข้าร่วมประชุม อบรม มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่และอาหารปลอดภัย

     

    60 60

    2. เจาะโลหิตเพื่อเฝ้าระวังค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่หมู่ที่ 4,10

    วันที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสม.ออกดำเนินการรณรงค์เจาะโลหิตค้นหาผู็ป่วย  จำนวน  3  ครั้ง 1.ในวันที่  23  สิงหาคม  2560  อสม จำนวน 18  คน  ค้นหาผู้ป่วยเจาะโลหิต  จำนวน  10  ราย  ผลไม่พบเชื้อมาลาเรีย 2. ในวันที่  24  สิงหาคม  2560  อสม.  จำนวน 18  คน ค้นหาผู้ป่วยเจาะโลหิต  จำนวน  13  ราย  ผลไม่พบเชื้อมาลาเรีย 3. ในวันที่  25  สิงหาคม  2560  อสม. จำนวน  18  คน ค้นหาผู้ป่วยเจาะโลหิต  จำนวน  9  ราย  ผลไม่พบเชื้อมาลาเรีย

     

    32 60

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน  60  คนคิดเป็นร้อยละ  100  โดยกลุ่มเป้าหมาย  ประกอบด้วย ผู้ประกอบการล่่องแก่งในพื้นที่ อสม.หมู่ที่ 4,10 2.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การควบคุมป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่และอาหารปลอดภัย คิดเป็นร้อยละ  100 3. อสม.ออกดำเนินการ  รณรงค์ เจาะโลหิตค้นหาผู้ป่วยใน  จำนวน  3  ครั้ง 4. ไม่มีรายงานพบผู้ป่วย ป่วยด้วยโรคมาลาเรียในพื้นที่ หมู่ที่ 4 ,10 5. ผู้ประกอบการ ให้ความสนใจ โครงการอาหารปลอดภัยในพื้นที่ 6. ผู้ประกอบการในพื้นที่ให้ความร่วมมือกับ อสม. ในการดำเนินการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ การค้นหาผู็ป่วยคิดเป็นร้อยละ  100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อให้ อสม. และผู้ประกอบการท่องเที่ยวในพื้นที่ มีความรู้เรื่องการควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ งานด้านอาหารปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : อสม.และผู้ประกอบการท่องเที่ยวในพื้นที่มีความรู้เรื่องการควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ งานด้านอาหารปลอดภัย คิดเป็นร้อยละ 100

     

    2 ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ไม่มีรายงานว่าพบผู้ป่วย ป่วยด้วยโรคมาลาเรีย ในพื้นที่หมู่ที่ 4 ,10

     

    3 ๓.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเข้าร่วมสมัครโครงการอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการให้ความสนใจสมัครโครงการอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว

     

    4 ๔.เพื่อให้เกิดความร่วมมือในชุมชนในการดำเนินงานควบคุมป้องป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่ มีเครือข่ายการเฝ้าระวังในพื้นที่โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ค้นหาผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการในพื้นที่ให้ความร่วมมือกับ อสม.ในการดำเนินเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ การค้นหาผู็ป่วยคิดเป็นร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 0
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ อสม. และผู้ประกอบการท่องเที่ยวในพื้นที่ มีความรู้เรื่องการควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ งานด้านอาหารปลอดภัย (2) ๒.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่ (3) ๓.ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการเข้าร่วมสมัครโครงการอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว (4) ๔.เพื่อให้เกิดความร่วมมือในชุมชนในการดำเนินงานควบคุมป้องป้องกันโรคติดต่อในพื้นที่ มีเครือข่ายการเฝ้าระวังในพื้นที่โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ค้นหาผู้ป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบูรณาการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ และ งานอาหารปลอดภัย ในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยวตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล ปี ๒๕๖๐ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5311-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายรุ่งศักดิ์ จอสกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด