กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ประชาชน 4,5และ6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี
รหัสโครงการ 63-L5215-1-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขารูปช้าง
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 130,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนำโชค ชำนาญวงศ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.154,100.612place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 130,000.00
รวมงบประมาณ 130,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2450 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามนโยบายการพัฒนาสุขภาพ การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยของกระทรวงสาธารณสุขและ ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยของจังหวัดสงขลา โดยมีเป้าประสงค์คนสงขลาทุกกลุ่มวัยและกลุ่มคนพิการ ได้รับการส่งเสริมเฝ้าระวังป้องกันรักษาฟื้นฟูสภาพที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ โดยมีตัวชี้วัดการดำเนินงานที่ตำบลที่มีกระบวนการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนา บทบาทภาคประชาชนและท้องถิ่นในการบูรณาการให้เกิดทิศทางการทำงานที่สอดคล้องกันและการสนับสนุน การสร้างความเข้มแข็งทางสุขภาพของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่อยู่ในระดับตำบลด้วยกระบวน การมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกันในการวิเคราะห์สถานการณ์วิเคราะห์สภาพปัญหาการศึกษาข้อมูลมาจัดทำ แผนงานแบบบูรณา การดำเนินการตามแผนติดตามประเมินผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ด้วยตนเองด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจมีจิตสานึกสาธารณะรวมถึงเน้นการรักษาสิ่งแวดล้อมและการแก้ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่มีการเปลี่ยนผ่านสุขภาพดีตามกลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย หมายถึง ทุกช่วงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพที่ดี ตามเกณฑ์ ทั้งการเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงค์และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อลดและป้องกันการเกิดโรค มีสุขภาพดีผ่านแต่ละช่วงวัย ต่อไปอย่างมีคุณภาพโดยแบ่งตามกลุ่มวัย ดังนี้
  1. กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัยหมายถึง  หญิงตั้งครรภ์,หญิงหลังคลอดและเด็ก 0-5 ปี
  2. กลุ่มเด็กวัยเรียน      หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่  6 - 14 ปี
  3.กลุ่มวัยรุ่น          หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่  15 - 21 ปี
  4. กลุ่มวัยทำงาน      หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่  22 - 59 ปี
  5. กลุ่มผู้สูงอายุ      หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่    60 ปีขึ้นไป

    ทั้ง 5 กลุ่มจะต้องได้รับการส่งเสริม เฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพ ที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่  กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ หมายถึง ทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลพัฒนาสุขภาพที่ดีตามเกณฑ์ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การเฝ้าระวังโรคและปัจจัยเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการบำบัดฟื้นฟูสภาพ เพื่อลดและป้องกันการเกิดโรค มีการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ และมีสุขภาพที่ดีผ่านแต่ละช่วงวัย ตั้งแต่ เกิดจนตายอย่างมีศักดิ์ศรี จากข้อมูลสุขภาวะแต่ละกลุ่มวัยของ รพสต. ปี 2561 พบว่า ร้อยละของมารดาเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 79.23 (ร้อยละ 50) , ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อย ละ 99.59 (ร้อยละ 80) , ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ร้อยละ 79.88 (ร้อยละ 66) , ร้อยละของ เด็กวัยเรียน ฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 55.63 (ร้อยละ 52) , ร้อยละของการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ 15-19 ปี ร้อย ละ 5.48 (ไม่เกินร้อยละ 15) ร้อยละของประชากรวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 55.60 (ร้อยละ 36) ซึ่งผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รพสต.เขารูปช้าง ผ่านเกณฑ์ทุกตัว และปี 2563 ยังมองเห็น ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัย และการมีสุขภาพดีผ่านแต่ละช่วงวัย จึงได้จัดทำโครงการประชาชนชาวสวนตูล หมู่ 4 หมู่ 5 และ หมู่ 6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ปี 2563 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. 1. เพื่อสร้างกลไลการบูรณาการความรวมมือ ของภาคีเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 2. 2. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันรักษา และฟื้นฟูสภาพที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ

1.หญิงตั้งครรภ์,หญิงหลังคลอด  ได้รับดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. เด็ก 0 – 5 ปี ตามรับได้ติดตามพัฒนาการและโภชนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 3. เด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66 4. เด็กกลุ่มวัยรุ่น15 - 21 ปี ได้รับการดูแลและติดตาม การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันสมควร ไม่น้อย 90
5.ประชาชนวัยทำงาน อายุ  22 – 59 ปี ดัชนีมวลกายปกติ      ไม่น้อยกว่าร้อยละ 54 6. ผู้สูงอายุติดสังคม ติดบ้าน  ติดเตียง ได้เข้าร่วมกิจกรรมและได้รับการดูแลไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. 1. เพื่อสร้างกลไลการบูรณาการความรวมมือ ของภาคีเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 2. 2. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันรักษา และฟื้นฟูสภาพที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

15 ธ.ค. 63 ประชาชนชาวสวนตูล หมู่ 4 5 และ 6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี 130.00 130,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. จัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขออนุมัติ 2 .ประชุมคณะกรรมการพัฒนา รพสต. และทีมสหวิชาชีพ เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน รวมทั้งแบ่งความรับผิดชอบตามบทบาทภาระงาน ได้แก่ งานสุขศึกษา งานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3.ดำเนินการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายกำหนดเป็น ทีม อสม./อสค./จิตอาสา, กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    4.อบรมแกนนำการสร้างสุขภาพฯ เพื่อร่วมกิจกรรมประเมินพฤติกรรม และร่วมกระบวนการสื่อสารสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมกับกลุ่มเสี่ยงแต่ละคน 5.รณรงค์คัดกรองกลุ่มวัยทำงาน เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตามแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพ(Health Behavioral Surveillance System: HBSS) และรวบรวมส่งทีมวิเคราะห์ฯ พร้อมทั้งจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามความเหมาะสม ตามกลุ่มวัย
  2. จัดอบรมผู้ดูแลเด็ก / ครูอนามัยโรงเรียน / เครือข่ายแกนนำสุขภาพ เพื่อติดตามงานพัฒนาการและโภชนาการ 7.จัดกิจกรรมอบรมกลุ่ม วัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น  เกี่ยวกับยาเสพติด การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การวางแผนครอบครัว 8.ประสานความร่วมมือกับเทศบาลเมืองเขารูปช้าง / แกนนำสุขภาพ ในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพิ่มความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชน
    • จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สุขภาพ 5 กลุ่มวัย ในชุมชน
    • จัดตั้งคลินิกให้คำปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    • พัฒนาลานออกกำลังกาย
    • พัฒนาระบบการให้บริการคลินิค WCC คุณภาพ       - พัฒนาระบบการให้บริการ คลินิก NCD plus คุณภาพ
  3. วิเคราะห์ สังเคราะห์แบบประเมินพฤติกรรม และจัดกิจกรรมร่วมกับเครือข่ายแกนนำสร้างสุขภาพ ถ่ายทอดความรู้ และจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างองค์กร เพื่อสุขภาพ กิจกรรมโมเดลอาหารลดโรค โปรแกรมควบคุมความเครียด โปรแกรมออกกำลังกาย โปรแกรมเลิกบุหรี่ เป็นต้น
  4. เครือข่ายแกนนำการสร้างสุขภาพ/อสม.  ติดตาม สังเกต และให้คำแนะนำพฤติกรรมที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ทุกอาทิตย์ และประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงซ้ำ
  5. วิเคราะห์ สังเคราะห์แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ก่อนและหลังดำเนินการ และรวบรวม สรุปผลการดำเนินกิจกรรมส่ง สสอ./กองทุนฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามกลุ่มวัย ที่เหมาะสม
2.เกิดภาคีเครือข่ายในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เข็มแข็งในการดูแลสุขภาพ โดยชุมชน 3.เกิดการพัฒนาการทำงานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ต.ค. 2562 14:46 น.