กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ประชาชน 4,5และ6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายนำโชค ชำนาญวงศ์




ชื่อโครงการ ประชาชน 4,5และ6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5215-1-5 เลขที่ข้อตกลง 9/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ประชาชน 4,5และ6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ประชาชน 4,5และ6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " ประชาชน 4,5และ6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5215-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 130,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามนโยบายการพัฒนาสุขภาพ การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยของกระทรวงสาธารณสุขและ ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยของจังหวัดสงขลา โดยมีเป้าประสงค์คนสงขลาทุกกลุ่มวัยและกลุ่มคนพิการ ได้รับการส่งเสริมเฝ้าระวังป้องกันรักษาฟื้นฟูสภาพที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ โดยมีตัวชี้วัดการดำเนินงานที่ตำบลที่มีกระบวนการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนา บทบาทภาคประชาชนและท้องถิ่นในการบูรณาการให้เกิดทิศทางการทำงานที่สอดคล้องกันและการสนับสนุน การสร้างความเข้มแข็งทางสุขภาพของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่อยู่ในระดับตำบลด้วยกระบวน การมีส่วนร่วมและเรียนรู้ร่วมกันในการวิเคราะห์สถานการณ์วิเคราะห์สภาพปัญหาการศึกษาข้อมูลมาจัดทำ แผนงานแบบบูรณา การดำเนินการตามแผนติดตามประเมินผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ด้วยตนเองด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจมีจิตสานึกสาธารณะรวมถึงเน้นการรักษาสิ่งแวดล้อมและการแก้ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่มีการเปลี่ยนผ่านสุขภาพดีตามกลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย หมายถึง ทุกช่วงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพที่ดี ตามเกณฑ์ ทั้งการเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงค์และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้มีการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อลดและป้องกันการเกิดโรค มีสุขภาพดีผ่านแต่ละช่วงวัย ต่อไปอย่างมีคุณภาพโดยแบ่งตามกลุ่มวัย ดังนี้
  1. กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัยหมายถึง  หญิงตั้งครรภ์,หญิงหลังคลอดและเด็ก 0-5 ปี
  2. กลุ่มเด็กวัยเรียน      หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่  6 - 14 ปี
  3.กลุ่มวัยรุ่น          หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่  15 - 21 ปี
  4. กลุ่มวัยทำงาน      หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่  22 - 59 ปี
  5. กลุ่มผู้สูงอายุ      หมายถึง  ผู้ที่มีอายุตั้งแต่    60 ปีขึ้นไป

    ทั้ง 5 กลุ่มจะต้องได้รับการส่งเสริม เฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสภาพ ที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่  กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ หมายถึง ทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลพัฒนาสุขภาพที่ดีตามเกณฑ์ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การเฝ้าระวังโรคและปัจจัยเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการบำบัดฟื้นฟูสภาพ เพื่อลดและป้องกันการเกิดโรค มีการเจริญเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ และมีสุขภาพที่ดีผ่านแต่ละช่วงวัย ตั้งแต่ เกิดจนตายอย่างมีศักดิ์ศรี จากข้อมูลสุขภาวะแต่ละกลุ่มวัยของ รพสต. ปี 2561 พบว่า ร้อยละของมารดาเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ร้อยละ 79.23 (ร้อยละ 50) , ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อย ละ 99.59 (ร้อยละ 80) , ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ร้อยละ 79.88 (ร้อยละ 66) , ร้อยละของ เด็กวัยเรียน ฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 55.63 (ร้อยละ 52) , ร้อยละของการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ 15-19 ปี ร้อย ละ 5.48 (ไม่เกินร้อยละ 15) ร้อยละของประชากรวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 55.60 (ร้อยละ 36) ซึ่งผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รพสต.เขารูปช้าง ผ่านเกณฑ์ทุกตัว และปี 2563 ยังมองเห็น ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัย และการมีสุขภาพดีผ่านแต่ละช่วงวัย จึงได้จัดทำโครงการประชาชนชาวสวนตูล หมู่ 4 หมู่ 5 และ หมู่ 6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ปี 2563 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. 1. เพื่อสร้างกลไลการบูรณาการความรวมมือ ของภาคีเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 2. 2. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันรักษา และฟื้นฟูสภาพที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาชนชาวสวนตูล หมู่ 4 5 และ 6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,450
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามกลุ่มวัย ที่เหมาะสม
2.เกิดภาคีเครือข่ายในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เข็มแข็งในการดูแลสุขภาพ โดยชุมชน 3.เกิดการพัฒนาการทำงานอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาชนชาวสวนตูล หมู่ 4 5 และ 6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี

วันที่ 22 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 อบรมภาคีเครือข่าย/แกนนำฯ เฝ้าระวัง/ดูแล/ติดตามผู้ป่วย ด้วยเครื่องมือนวัตกรรมสุขภาพชุมชน จำนวน 130 คน กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย/ประเมินพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตามแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงฯด้วยการนำนวัตกรรมชุมชน จำนวน 60 คน กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมกลุ่มดูแลเพื่อนช่วยเพื่อน สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันฯเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน จำนวน 50 คน กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมอบรมกลุ่ม วัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น เกี่ยวกับยาเสพติด การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การวางแผนครอบครัว จำนวน 60 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีแกนนำสุขภาพที่ผ่านการอบรมและพัฒนาศักยภาพ พร้อมทั้งประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แบบผสมผสาน จำนวน 130 คน 2.กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้รับการดูแลและมีความรู้อย่างเหมาะสม เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำนวัตกรรมชุมชนมาปฏิบัติตนในการดำรงชีวิตประจำวัน ที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ 3.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหัตสูง ได้รับการติดตามดูแลเยี่ยมบ้าน เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อนจากแกนนำสุขภาพ

 

130 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. 1. เพื่อสร้างกลไลการบูรณาการความรวมมือ ของภาคีเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 2. 2. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันรักษา และฟื้นฟูสภาพที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์,หญิงหลังคลอด ได้รับดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. เด็ก 0 – 5 ปี ตามรับได้ติดตามพัฒนาการและโภชนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 3. เด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66 4. เด็กกลุ่มวัยรุ่น15 - 21 ปี ได้รับการดูแลและติดตาม การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันสมควร ไม่น้อย 90 5.ประชาชนวัยทำงาน อายุ 22 – 59 ปี ดัชนีมวลกายปกติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 54 6. ผู้สูงอายุติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง ได้เข้าร่วมกิจกรรมและได้รับการดูแลไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2560
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,450
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. 1. เพื่อสร้างกลไลการบูรณาการความรวมมือ ของภาคีเครือข่ายในระดับตำบล เพื่อการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 2. 2. เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพ  เฝ้าระวัง ป้องกันรักษา และฟื้นฟูสภาพที่มีมาตรฐานและส่งผ่านสู่กลุ่มวัยอย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาชนชาวสวนตูล หมู่ 4 5 และ 6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ประชาชน 4,5และ6 ทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5215-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนำโชค ชำนาญวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด