กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตำบลยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ ”
ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางมูนาดียา สาลัง




ชื่อโครงการ โครงการตำบลยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบลยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบลยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยโดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคอ้วนโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะไตวายเรื้อรัง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและโรคหอบหืด โรคเรื้อรังดังกล่าวเป็นโรคที่ต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนและทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรจากปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้คนไทยมีแนวโน้มสูงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ
ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องการรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอความเครียด การสูบบุหรี่เป็นต้นการที่จะลดการเกิดโรคเรื้อรังต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำดำจึงเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้นในพื้นที่เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมที่ถูกต้องในเรื่องการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารซึ่งช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังก่อให้เกิดชุมชนสุขภาพดี และเป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้เกิดการมีส่วนร่วมและชุมชนเข้มแข็งยั่งยืนอย่างแท้จริง
ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ รวมทั้ง สามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนเพื่อป้องกัน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำดำ จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เป็นหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีชุมชน มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน
  2. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและให้ประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน
  3. เพื่อให้ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความเสี่ยงตามมาตรฐาน
  4. กลุ่มเสี่ยงได้รับการเสริมทักษะและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 73
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.หมู่บ้านได้รับการยกย่องเชิดชูให้เป็นแบบอย่างหมู่บ้านสุขภาพดีตามวิถีชุมชน ๒.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ ๙๐% ๔.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านสามารถคัดกรองกลุ่ม pre DM ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม นัดติดตาม 1, 2, 3 เดือน และนัดตรวจ FPG เดือนที่ 6 และกลุ่ม pre HT ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม ติดตามค่าความดันโลหิต 1, 2, 3, 6 เดือน ได้ >ร้อยละ 80


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.หมู่บ้านได้รับการยกย่องเชิดชูให้เป็นแบบอย่างหมู่บ้านสุขภาพดีตามวิถีชุมชน 2.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    3.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน  ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ ๙๐% 4.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านสามารถคัดกรองกลุ่ม pre DM ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม    นัดติดตาม 1, 2, 3 เดือน และนัดตรวจ FPG เดือนที่ 6 และกลุ่ม pre HT ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม ติดตามค่าความดันโลหิต 1, 2, 3, 6 เดือน  ได้ >ร้อยละ 80

     

    73 73

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.หมู่บ้านได้รับการยกย่องเชิดชูให้เป็นแบบอย่างหมู่บ้านสุขภาพดีตามวิถีชุมชน 2.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    3.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน  ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ ๙๐% 4.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านสามารถคัดกรองกลุ่ม pre DM ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม    นัดติดตาม 1, 2, 3 เดือน และนัดตรวจ FPG เดือนที่ 6 และกลุ่ม pre HT ได้รับการบริการลดเสี่ยง ปรับพฤติกรรม ติดตามค่าความดันโลหิต 1, 2, 3, 6 เดือน  ได้ >ร้อยละ 80

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เป็นหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีชุมชน มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและให้ประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความเสี่ยงตามมาตรฐาน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 กลุ่มเสี่ยงได้รับการเสริมทักษะและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 73
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 73
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีชุมชน มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอ ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน (2) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมและให้ประชาชนมีความรู้ในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน (3) เพื่อให้ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความเสี่ยงตามมาตรฐาน (4) กลุ่มเสี่ยงได้รับการเสริมทักษะและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตำบลยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางมูนาดียา สาลัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด