กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก


“ โครงการ เสริมสร้างความเข้าใจร่วมพาลูกน้อยฉีดวัคซีน ชุมชนเทศบาลตำบลหนองจิก ปี ๒๕๖๒ ”

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลหนองจิก

ชื่อโครงการ โครงการ เสริมสร้างความเข้าใจร่วมพาลูกน้อยฉีดวัคซีน ชุมชนเทศบาลตำบลหนองจิก ปี ๒๕๖๒

ที่อยู่ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เสริมสร้างความเข้าใจร่วมพาลูกน้อยฉีดวัคซีน ชุมชนเทศบาลตำบลหนองจิก ปี ๒๕๖๒ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เสริมสร้างความเข้าใจร่วมพาลูกน้อยฉีดวัคซีน ชุมชนเทศบาลตำบลหนองจิก ปี ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

๑. ประชุมเจ้าหน้าที่ประจำหมู่และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อรับทราบข้อมูลเด็กในส่วนขาดและติดตามเชิงรุกจำนวน ๓๐ คน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลหนองจิก ในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒๒. ดำเนินการจัดทำเวทีประชาคมในชุมชนโดยเชิญผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และแกนนำครอบครัว เพื่อรับทราบสถานการณ์การเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและข้อมูลเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบและให้ความรู้เรื่อง ชนิดของวัคซีนที่ต้องได้รับในแต่ละช่วงอายุ , ประโยชน์ของการได้รับวัคซีนเน้นย้ำถึงความสำคัญ และการปฏิบัติตัวหลังได้รับวัคซีน จำนวนผู้เข้าร่วมเวทีประชาคมทั้งหมด ๑๒๐ คน จำนวน ๓ ครั้ง ในวันที่ ๒๗พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ มัสยิดชุมชนย่านมัสยิด ม.๒ ตุยง , วันที่ ๑๔มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ ชุมชนท่ายาลอม.๔ ตุยงและวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชนกะลูแป ม.๔ ตุยง                                                                            ๓.ประชุมผู้ปกครองเด็กเรื่อง วัคซีนในสมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมให้บริการเชิงรุกแก่เด็กในรายที่ได้รับไม่ครบในเขตเทศบาล มีผู้เข้าร่วม จำนวน ๑๕๐ คน จำนวน ๓ ครั้ง ในวันที่ ๒๗พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชนย่านมัสยิด ม.๒ ตุยง , วันที่ ๑๔มิถุนายน ๒๕๖๒ณ ชุมชนบ้านท่ายาลอ ม.๔ ตุยง และวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชมกะลูแป ม.๔ ตุยง ให้บริการวัคซีนเชิงรุกในชุมชนเขตเทศบาล จำนวน ๔ ครั้ง พร้อมสอบถามสาเหตุของการไม่มารับบริการวัคซีนตามนัดหมายจากการสอบถามผู้ปกครองเป็นรายบุคคล พบว่ามีสาเหตุจาก กลัวบุตรมีไข้เป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญและไม่มีความรู้ที่แท้จริงเกี่ยวกับวัคซีน , ไม่มีพาหนะมา , เด็กอยู่กับญาติผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้สูงอายุ , บิดาหรือญาติผู้ใหญ่ไม่ให้ฉีด , ลืมนัดหมาย และผู้ปกครองต้องไปประกอบอาชีพต่างพื้นที่ไม่สะดวกพาบุตรมา ๔.อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ที่พบในชุมชนเขตเทศบาล ได้แก่ โรคหัดในเด็กทุกกลุ่มอายุเด็กป่วยเป็นโรคหัดในเขตเทศบาล จำนวน ๗ ราย สาเหตุจากการได้รับวัคซีนไม่ครบและต่อเนื่อง รวมทั้งผู้สัมผัสในครอบครัวที่มีอายุต่ำกว่า ๔๐ ปี มาฉีดวัคซีนไม่ครบทุกคนในบ้าน มีโอกาสเกิดโรคได้อีก๕.อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี ของตำบลตุยง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายคือไม่ถึง ๙๐ เปอร์เซ็นต์ ยกเว้น MMR เป้าหมายไม่ต่ำกว่า ๙๕%พบว่า มีความครอบคลุมดังนี้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการพาบุตรมารับบริการวัคซีนตามเกณฑ์อายุและ สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของบุตรได้ถูกต้อง
  2. ๒.เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีใน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
  3. ๓. เพื่อลดอัตราเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีนลดลง
  4. ๔. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือนัด หมายให้บริการเชิงรุกในชุมขนร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในคลินิกสุขภาพเด็กดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ประจำหมู่ เพื่อรับทราบรายชื่อเด็กขาดนัดวัคซีนและติดตาม
  2. ๒. จัดทำเวทีประชาคมในชุมชนเขตเทศบาล 7 ชุมชน เพื่อรับทราบสถานการณ์การเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและข้อมูลเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ จำนวน ๓ ครั้ง
  3. ๓. ประชุมผู้ปกครองเด็กเรื่อง วัคซีนในสมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมให้บริการวัคซีนแก่เด็กในรายที่ได้รับไม่ครบหรือไม่ได้รับวัคซีนในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก จำนวน ๓ ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในชุมชนได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
    1. ครอบครัวมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักในการพาบุตรมารับบริการวัคซีนเพิ่มขึ้นและมีระบบการติดตามเด็กในชุมชน
    2. เกิดระบบการทำงานเป็นเครือข่ายในการดูแลระบบสุขภาพของเด็กในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๑. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ประจำหมู่ เพื่อรับทราบรายชื่อเด็กขาดนัดวัคซีนและติดตาม

วันที่ 8 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ระชุมอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ประจำหมู่ เพื่อรับทราบรายชื่อเด็กขาดนัดวัคซีนและติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ประจำหมู่ ทราบรายชื่อเด็กขาดนัดวัคซีนและติดตามได้

 

30 0

2. ๒. จัดทำเวทีประชาคมในชุมชนเขตเทศบาล 7 ชุมชน เพื่อรับทราบสถานการณ์การเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและข้อมูลเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ จำนวน ๓ ครั้ง

วันที่ 23 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเวทีประชาคมในชุมชนเขตเทศบาล 7 ชุมชน เพื่อรับทราบสถานการณ์การเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและข้อมูลเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ จำนวน ๓ ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำเวทีประชาคมในชุมชน โดยเชิญผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และแกนนำครอบครัว เพื่อ รับทราบสถานการณ์การเกิดโรคหัดในตำบลตุยงและข้อมูลเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบเพื่อติดตามเด็กและแก้ไขปัญหาการเกิดโรคหัดในชุมชน

 

40 0

3. ประชุมผู้ปกครองเด็กเรื่อง วัคซีนในสมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมให้บริการวัคซีนแก่เด็กในรายที่ได้รับไม่ครบหรือไม่ได้รับวัคซีนในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก จำนวน ๓ ครั้ง

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมผู้ปกครองเด็กเรื่อง วัคซีนในสมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมให้บริการวัคซีนแก่เด็กในรายที่ได้รับไม่ครบหรือไม่ได้รับวัคซีนในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก จำนวน ๓ ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมผู้ปกครองเด็กเพื่อให้ความรู้เรื่อง การได้รับวัคซีนแต่ละช่วงอายุและการตรวจสอบประวัติ การได้รับวัคซีนในสมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมให้บริการวัคซีนแก่เด็กในรายที่ได้รับไม่ครบหรือไม่ได้รับวัคซีน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการพาบุตรมารับบริการวัคซีนตามเกณฑ์อายุและ สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนของบุตรได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ๒.เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีใน ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ๓. เพื่อลดอัตราเกิดโรคจากการไม่ได้รับวัคซีนลดลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 ๔. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบนำส่งโรงพยาบาลหรือนัด หมายให้บริการเชิงรุกในชุมขนร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ในรายที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ในคลินิกสุขภาพเด็กดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

๑. ประชุมเจ้าหน้าที่ประจำหมู่และอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อรับทราบข้อมูลเด็กในส่วนขาดและติดตามเชิงรุกจำนวน ๓๐ คน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลหนองจิก ในวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒๒. ดำเนินการจัดทำเวทีประชาคมในชุมชนโดยเชิญผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และแกนนำครอบครัว เพื่อรับทราบสถานการณ์การเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและข้อมูลเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบและให้ความรู้เรื่อง ชนิดของวัคซีนที่ต้องได้รับในแต่ละช่วงอายุ , ประโยชน์ของการได้รับวัคซีนเน้นย้ำถึงความสำคัญ และการปฏิบัติตัวหลังได้รับวัคซีน จำนวนผู้เข้าร่วมเวทีประชาคมทั้งหมด ๑๒๐ คน จำนวน ๓ ครั้ง ในวันที่ ๒๗พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ มัสยิดชุมชนย่านมัสยิด ม.๒ ตุยง , วันที่ ๑๔มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ ชุมชนท่ายาลอม.๔ ตุยงและวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชนกะลูแป ม.๔ ตุยง                                                                            ๓.ประชุมผู้ปกครองเด็กเรื่อง วัคซีนในสมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมให้บริการเชิงรุกแก่เด็กในรายที่ได้รับไม่ครบในเขตเทศบาล มีผู้เข้าร่วม จำนวน ๑๕๐ คน จำนวน ๓ ครั้ง ในวันที่ ๒๗พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชนย่านมัสยิด ม.๒ ตุยง , วันที่ ๑๔มิถุนายน ๒๕๖๒ณ ชุมชนบ้านท่ายาลอ ม.๔ ตุยง และวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ชุมชมกะลูแป ม.๔ ตุยง ให้บริการวัคซีนเชิงรุกในชุมชนเขตเทศบาล จำนวน ๔ ครั้ง พร้อมสอบถามสาเหตุของการไม่มารับบริการวัคซีนตามนัดหมายจากการสอบถามผู้ปกครองเป็นรายบุคคล พบว่ามีสาเหตุจาก กลัวบุตรมีไข้เป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญและไม่มีความรู้ที่แท้จริงเกี่ยวกับวัคซีน , ไม่มีพาหนะมา , เด็กอยู่กับญาติผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้สูงอายุ , บิดาหรือญาติผู้ใหญ่ไม่ให้ฉีด , ลืมนัดหมาย และผู้ปกครองต้องไปประกอบอาชีพต่างพื้นที่ไม่สะดวกพาบุตรมา ๔.อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ที่พบในชุมชนเขตเทศบาล ได้แก่ โรคหัดในเด็กทุกกลุ่มอายุเด็กป่วยเป็นโรคหัดในเขตเทศบาล จำนวน ๗ ราย สาเหตุจากการได้รับวัคซีนไม่ครบและต่อเนื่อง รวมทั้งผู้สัมผัสในครอบครัวที่มีอายุต่ำกว่า ๔๐ ปี มาฉีดวัคซีนไม่ครบทุกคนในบ้าน มีโอกาสเกิดโรคได้อีก๕.อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี ของตำบลตุยง ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายคือไม่ถึง ๙๐ เปอร์เซ็นต์ ยกเว้น MMR เป้าหมายไม่ต่ำกว่า ๙๕%พบว่า มีความครอบคลุมดังนี้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เสริมสร้างความเข้าใจร่วมพาลูกน้อยฉีดวัคซีน ชุมชนเทศบาลตำบลหนองจิก ปี ๒๕๖๒ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลหนองจิก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด