กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-13 เลขที่ข้อตกลง 14/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 ตุลาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3351-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 ตุลาคม 2562 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันสุขภาพของคนในพื้นที่ มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลายชนิด หนึ่งในจำนวนโรคเหล่านั้นนั้นก็เป็นมีโรคมะเร็ง ที่เป็นสาเหตุให้คนเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่งสาเหตุเกิดจากอาหารการกินสารเคมีที่ปนเปื้อนมาในอาหารในรูปแบบต่างๆ ทำให้ประชาชนเกิดโรคมากขึ้น เนื่องจากปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์สุขภาพหลายชนิดที่เกิดขึ้น ทั้งผลิตภัณฑ์อาหารยา และเครื่องสำอางค์ ที่กลุ่มผู้ผลิตโฆษณาเพื่อดึงดููดความสนใจผู้บริโภคให้มาใช้สินค้า เกิดการแข่งขันทางธุรกิจ กลุ่มผู้ผลิตพยายามหาจุดขายของผลิตภัณฑ์ บางผลิตภัณฑ์มีการใช้สารที่ห้ามใช้เป็นส่วนผสม เพราะเป็นอันตรายต่อสุุขภาพของผู้บริโภค เช่น สารไฮโดรควิโนนสารปรอท ซึ่งห้ามใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางค์สารสเตียรอยด์ ห้ามใช้ในยาแผนโบราณ ส่วนใหญ่จะพบในยาลูกกลอน กลุ่มเกษตรกรที่ปลูกผัก ผลไม้ ใช้สารเคมีเพื่อให้ได้ผลผลิตตามที่ต้องการ รวมทั้ง ร้านค้าที่นำผลิตภัณฑ์สุขภาพมาขายในร้าน ยังมีการแอบนำผลิตภัณฑ์ ยาที่ห้ามจำหน่ายในร้านชำมาขายให้ประชาชนในชุมชนจำเป็นต้องให้ประชาชนได้รับความรู้และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้โดยผ่านอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( อสม. )เป็นแกนนำในการดำเนินกิจกรรม ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว จึงได้จัดทำโครงการ ชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภคขึ้นเพื่อสร้างแกนนำช่วยเฝ้าระวัง ตรวจร้านชำ และให้ความรู้กับประชาชนการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร ที่ปลอดภัย และรับทราบข้อมูลข่าวสารผลิตภัณฑ์ที่ประกาศห้ามใช้และเพื่อลดการใช้สารเคมีในเกษตรกรและประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกคน
  2. เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านชำคลอบคลุมเขตพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวในการเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยของอาหารและร้านชำ
  2. กิจกรรมลงประเมินร้านอาหารและร้านชำติดดาว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ร้านขายของชำในชุมชนไม่พบสิ่งต้องห้าม ภาคีเครือข่ายร่วมเฝ้าระวังร้านชำในชุมชน
  • แกนนำสุขภาพครอบครัว ภาคีเครือข่ายมีความรู้การเฝ้าตรวจสอบคุณภาพปลอดภัยของอาหาร ร้อยละ 80
  • ไม่พบสารต้องห้ามในร้านอาหารทุกร้าน
  • ร้านชำทุกร้านมีคะแนนผ่านการประเมินร้านชำติดดาวมากกว่า 80 คะแนน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวในการเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยของอาหารและร้านชำ

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการ

 

100 0

2. กิจกรรมลงประเมินร้านอาหารและร้านชำติดดาว

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินร้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวและตรวจสอบความปลอดภัยของอาหารและร้านชำ กลุ่มเป้าหมายคือแกนนำสุขภาพได้รับการเพิ่มพูนองค์ความรู้ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค กิจกรรมที่ 2 ลงประเมินร้านอาหารและร้านชำติดดาว ไม่พบสารต้องห้ามในร้านชำทุกร้าน ไม่พบสารต้องห้ามในร้านอาหาร ร้านชำทุกร้านมีผ่านการประเมินร้านชำติดดาวและได้คะแนนมากกว่า ร้อยละ 80 จำนวน 17 ร้าน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกคน
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพครอบครัว ภาคีเครือข่ายมีความรู้การเฝ้าตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ร้อยละ 80
3.00 100.00 100.00

 

2 เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านชำคลอบคลุมเขตพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เครือข่ายมีความรู้และสามารถเฝ้าระวังได้
3.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกคน (2) เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและร้านชำคลอบคลุมเขตพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวในการเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยของอาหารและร้านชำ (2) กิจกรรมลงประเมินร้านอาหารและร้านชำติดดาว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด