กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายศักดิ์ตะวัน สันเกาะ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5282-05-01 เลขที่ข้อตกลง 08/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5282-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ร่องความกดอากาศต่ำเคลื่อนที่ผ่านอ่าวไทยและภาคใต้ ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2550 -5 มกราคม 2560 ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้นโดยเฉพาะ จังหวัดตรัง พัทลุง นราธิวาส ปัตตานี สตูล ตลอดจนพื้นที่จังหวัดสงขลาบางส่วนนั้นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ประสบภัยสามารถเขียนโครงการด้านสุขภาพขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมตลอดจนโครงการป้องกันและแก้ปัญหาโรคหรือสุขภาพที่เกิดขึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้วจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่หรือ กองทุนสุขภาพตำบลตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2557 ข้อ7(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ ตามที่ร่องความกดอากาศต่ำเคลื่อนที่ผ่านอ่าวไทยและภาคใต้ ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2559 -5 มกราคม 2560 ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้นโดยเฉพาะ จังหวัดตรัง พัทลุง นราธิวาส ปัตตานี สตูล ตลอดจนพื้นที่จังหวัดสงขลาบางส่วนนั้น สำหรับในพื้นที่ อบต.อุใดเจริญ มีความตระหนักในปัญหาสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ คือ โรคน้ำกัดเท้า หรือ บ่อน้ำบริโภคถูกน้ำท่วมส่งผลต่อการขาดแคลนน้ำดื่ม ตลอดจนการระบาดของโรคฉี่หนู หรือ โรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องดำเนินโครงการเผชิญและบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)
  2. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  4. เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)
  5. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
  6. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงเป็นพาหะ
  2. การแก้ปัญหาผลกระทบเบื้องต้นจากควันไฟอินโดนีเซีย
  3. การแก้ปัญหาโรคระบาดจากน้ำท่วม
  4. โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563
  5. โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19)
  6. โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ระยะที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบรรเทาผลกระทบต่อปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563

วันที่ 10 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

๑. ประสานงานเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดเตรียมอุปกรณ์ ๒. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙)
๓. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ๔. สนับสนุนสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) โดยการสอนการทำหน้ากากอนามัย และการล้างมือที่ถูกวิธี ๕. สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

๒. ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

 

200 0

2. การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงเป็นพาหะ

วันที่ 19 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

3. การแก้ปัญหาผลกระทบเบื้องต้นจากควันไฟอินโดนีเซีย

วันที่ 19 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

4. การแก้ปัญหาโรคระบาดจากน้ำท่วม

วันที่ 19 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

5. โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19)

วันที่ 19 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

7,120 0

6. โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ระยะที่ 3

วันที่ 19 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)
0.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
0.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน
0.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)
0.00

 

5 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
0.00

 

6 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน) (2) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน) (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (4) เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน) (5) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) (6) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงเป็นพาหะ (2) การแก้ปัญหาผลกระทบเบื้องต้นจากควันไฟอินโดนีเซีย (3) การแก้ปัญหาโรคระบาดจากน้ำท่วม (4) โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563 (5) โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) (6) โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ระยะที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5282-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายศักดิ์ตะวัน สันเกาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด