กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ


“ โครงการแก้ไขปัญหาโรคระบาดและสถานการร์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลตะเสะ ”

ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเสะ

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาโรคระบาดและสถานการร์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลตะเสะ

ที่อยู่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L00005-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาโรคระบาดและสถานการร์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลตะเสะ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาโรคระบาดและสถานการร์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลตะเสะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาโรคระบาดและสถานการร์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลตะเสะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L00005-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ไว้ 5 ประเภท ซึ่งได้ระบุให้ประเภทที่ 5 ใช้ในกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วนของ อบต.ตะเสะ ในการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย สาธารณภัย ภัยพิบัติต่างๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทำให้การแพร่ระบาดของโรคสายพันธุ์ต่างๆ  การเกิดปัญหาหมอกควันจากประเทศอินโดนีเซียในอดีต สาเหตุเกิดจากการเผาป่าเพื่อทำทุ่งของชาวบ้าน ส่งผลให้ประชาชนเริ่มมีอาการแสบตา และหายใจติดขัด ปัญหา ส่งผลให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา ซึ่งโรคที่ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษจำนวน 7 โรค ได้แก่ ตาแดง ฉี่หนู ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง มือ เท้า ปาก การเกิดโรคติดต่อในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในช่วงหน้าฝนมักพบโรคมือเท้าปาก  อาจจะมีเพิ่มขึ้นในอนาคตเนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป อบต.ตะเสะเป็นพื้นที่อยู่ใกล้ชายฝั่งทะเล อุบัติภัย และการระบาดของโรคต่างๆ เกิดขึ้นในช่วงฝนตกชุกจากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายในเขตตำบลตะเสะ เพื่อให้การ ปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบายด้านสาธารณสุข งานบรรเทาสาธารณภัย ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชน จึงได้ดำเนินโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ เพื่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในวงกว้าง และให้ความรู้แก่ประชาชน เพื่อลดผลกระทบจากการเกิดภัยพิบัติต่าง ๆ ด้านสาธารณสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อแก้ไขปัญหาทาดงด้านสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้ผลกระทบจากโรคไข้เลือดออก
  2. 2.เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือ เท้า ปาก ระบาด
  3. 3แก้ไขปัญหาผลกระทบในการป้องกันโรที่เกิดขึ้นใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6
  2. โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธืยุงลายในพื้นที่ หมู่ที่ 3และหมู่ที่ 4
  3. โครงการอบรมให้ความรู้การทำหน้ากากอนามัยให้แก่ทีม ครูวิทยากร หรือ ครู ก
  4. โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลตะเสะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 203
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน 1,000
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 118
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่ตำบลตะเสะมีความรู้เกี่ยวกับโรคและสามารถปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคและภัยทางสุขภาพได้ อย่างถูกต้อง 2.ประชาชนภายในอบต.ตะเสะสามารถเตรียมตัวป้องกันภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง 3.ประชาชน ได้รับการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6

วันที่ 31 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ลงพื้นที่รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย  จำนวน  4 หมู่บ้าน 2.มอบโลขั่นกทากันยัง  ทราย และเสปรย์ฉีดพ่นป้องกันยุง  จำนวน  400  ครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต    กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ  จำนวน  400  คน จาดก 4 หมู่บ้าน

ผลลัพธ์    ร้อยละ  90 ของครอบครัวในพื้นที่ 4 หมู่บ้าน ไม่เกิดโรคไข้เลือดออก

 

400 0

2. โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธืยุงลายในพื้นที่ หมู่ที่ 3และหมู่ที่ 4

วันที่ 2 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ลงพื้นที่รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย  จำนวน  2  หมู่บ้าน 2.มอบโลชั่นทากันยุง  ทราย  สเปรย์ฉีดพ่นป้องกันยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต    กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ  จำนวน  210  คน  เกินที่ตั้งไว้

ผลลัพธ์    ร้อยละ 90  ของครอบครัวในพื้นที่  2  หมู่บ้าน ไม่เกิดโรคไข้เลือดออก

 

200 0

3. โครงการอบรมให้ความรู้การทำหน้ากากอนามัยให้แก่ทีม ครูวิทยากร หรือ ครู ก

วันที่ 6 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้การทำหน้ากากอนามัยด้วยผ้า พร้อมปฏิบัติการเย็นหน้ากากผ้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต    กลุ่มเป้าหมายเข้าครบจำนวน  20 คน

ผลลัพธ์  ร้อยละ  90  ของผู้เข้าร่วมโครงการตัดเย็บหน้ากากผ้าได้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนอื่นได้

 

20 0

4. โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลตะเสะ

วันที่ 9 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่รณรงค์ทำลายแล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือนและจุดเสี่ยง มอบโลชั่นทา ป้องกันยุง  จำนวน  90 ครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต    บุคคลในครอบครัวเข้าร่ว  90 ครอบครัว ครบตามเป้าหมาย

ผลลัพธ์  ร้อยละ  90 ของครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการปลอดโรคไข้เลือดออกและเข้าใจในการป้องกันยุงไม่สร้างแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายให้เกิดขึ้นในครัวเรือน

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อแก้ไขปัญหาทาดงด้านสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้ผลกระทบจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแก่ประชาชนที่ได้ผลกระทบจากโรคไข้เลือดออก
500.00

 

2 2.เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือ เท้า ปาก ระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือ เท้า ปาก ระบาด
203.00

 

3 3แก้ไขปัญหาผลกระทบในการป้องกันโรที่เกิดขึ้นใหม่
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการช่วยเหลือทางด้านสุขภาพ
2000.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3451
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 203
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน 1,000
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 118
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อแก้ไขปัญหาทาดงด้านสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้ผลกระทบจากโรคไข้เลือดออก (2) 2.เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือ เท้า ปาก ระบาด (3) 3แก้ไขปัญหาผลกระทบในการป้องกันโรที่เกิดขึ้นใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย  หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 (2) โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธืยุงลายในพื้นที่  หมู่ที่ 3และหมู่ที่ 4 (3) โครงการอบรมให้ความรู้การทำหน้ากากอนามัยให้แก่ทีม ครูวิทยากร  หรือ ครู ก (4) โครงการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลตะเสะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ไขปัญหาโรคระบาดและสถานการร์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลตะเสะ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L00005-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด