กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการชุมชุมปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชุมปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-12 เลขที่ข้อตกลง 13/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 ตุลาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชุมปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชุมปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชุมปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3351-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 ตุลาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 2000 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะมูลฝอยนั้นนับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจำนวนประชากรถ้าหากไม่มีการกำจัดขยะมูลฝอยให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้วปัญหาความสกปรกต่างๆ ที่เกิดจากมูลฝอยจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ถ้ามองกันอย่างผิวเผินแล้วขยะมูลฝอยนั้นไม่ได้กระทบต่อมนุษย์มากนัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงต่อมนุษย์ยังอยู่ในขั้นรุนแรงไม่มากนัก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงไม่ชัดเจนเท่าไร แต่ในความเป็นจริงแล้วขยะมูลฝอยจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก และจะมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยมนุษย์ด้วยทั้งทางตรงและทางอ้อมทั้งนี้เนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงนำโรคเช่น แมลงสาปแมลงวันยุง ฯลฯ และเป็นที่ซุกซ่อนของหนูและสัตว์อื่นๆทำให้เกิดกลิ่นเหม็นและก่อให้เกิดความรำคาญขยะมูลฝอยที่ทิ้งเกลื่อนกลาดถูกลมพัดกระจัดกระจายไปตกอยู่ตามพื้นที่ทำให้บริเวณนั้นสกปรกขาดความสวยงามเป็นที่รังเกียจผู้พบเห็นและผู้ที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง นอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่ตกอยู่หรือถูกทิ้งลงในคูคลองหรือทางระบายน้ำจะไปสกัดกั้นการไหลของน้ำทำให้แหล่งน้ำสกปรกและเกิดการน้ำเสียน้ำเสียที่เกิดจากกองขยะมูลฝอยที่กองไว้เป็นน้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมากซึ่งมีทั้งสารอินทรีย์สารอนินทรีย์เชื้อโรคและสารพิษต่างๆ เจือปนอยู่เมื่อน้ำเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลไปตามพื้นดินบริเวณใดก็จะทำให้บริเวณนั้นเกิดความสกปรกและความเสื่อมโทรมของพื้นดินและอาจเปลี่ยนสภาพทำให้ดินมีคุณสมบัติเป็นดินด่างหรือดินกรดได้ในกรณีที่น้ำเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลลงสู่แหล่งน้ำก็จะทำให้คุณภาพน้ำเสียไปทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นแหล่งน้ำผิวดินหรือแหล่งน้ำใต้ดินก็ตามล้วนเป็นอันตรายต่อผู้ใช้น้ำและสิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำน้ำที่สกปรกมากหรือมรสารพิษเจือปนอยู่ก็จะทำให้สัตว์น้ำตายในเวลาอันสั้นนอกจากนั้นสิ่งสกปรกต่างๆ ที่เจือปนในน้ำก็จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ของน้ำทำให้สัตว์น้ำมีค่าบางชนิดสูญพันธ์ไป การกำจัดมูลฝอยวิธีการกำจัดขยะมูลฝอยที่ใช้ต่อเนื่องกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีหลายวิธี เช่น นำไปกองบนพื้นดินหมักทำปุ๋ยเผากลางแจ้งเผาในเตาเผาขยะและฝังกลบอย่างถูกหลักวิชาการ เป็นต้น การกำจัดขยะมูลฝอยดังกล่าวนั้นบางวิธีเป็นการกำจัดไม่ถูกต้องทำให้เกิดภาวะเป็นพิษต่อสภาพแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพของคนด้วย หมู่ที่ 1,7,9 ตำบลโคกชะงายปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยชุมชน และคาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มเรื่อยๆ(ข้อมูลจากเทศบาลตำบลโคกชะงาย) เนื่องจากมีประชาชนอาศัยเพิ่มมากขึ้น มีการปลูกที่อยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้น มีร้านค้าจำหน่ายอาหารเพิ่มขึ้น ประชาชนในชุมชน จากเดิมที่เคยปรุงอาหารรับประทานเอง หันมาซื้ออาหารสำเร็จรูปมากขึ้น เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และประหยัดเวลาเพราะเร่งรีบในการประกอบอาชีพ เช่น ข้าราชการ เกษตรกร รับจ้าง เป็นต้น จึงส่งผลให้มีปริมาณขยะมากขึ้น บางบ้านยังใช้วิธีกำจัดและจัดการแบบเดิมๆ ด้วยการเทกองไว้กลางแจ้ง ฝังกลบ หรือใช้วิธีเผาทำลาย ทำให้เกิดควันลอยในอากาศ เป็นการเพิ่มภาวะโลกร้อน และ ของเหลือทิ้งจำพวกเศษอาหารที่เหลือจากการปรุงอาหารและการบริโภค รวมทั้งเศษอาหาร พลาสติก และสารพิษจากขยะได้แพร่กระจายลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติมากขึ้นและของที่ไม่ใช้แล้ว ขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้งอยู่ตามถนน แม่น้ำ ลำคลอง ที่สาธารณะต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นใบไม้ เศษกระดาษ ถุงพลาสติก เศษดิน เป็นต้น ซึ่งมูลฝอยเหล่านี้หากไม่กำจัดและมีการจัดการอย่างถูกวิธี นอกจากจะทำให้ชุมชนขาดความสะอาดเรียบร้อย จนเป็นที่น่ารังเกียจแล้ว ยังทำให้เกิดปัญหามลพิษต่อสภาพแวดล้อมอย่างมากมาย เช่น การปนเปื้อนของแหล่งน้ำและการปนเปื้อนของอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และแพร่กระจายของเชื้อโรค ที่ก่อปัญหาด้านสุขภาพอนามัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบ 3 หมู่บ้าน
  2. เพื่อให้บ้านเรือน ชุมชน หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวในการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำไปใช้ประโยชน์
  2. กิจกรรมประกวดครอบครัวปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ทุกครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายมีการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้
  • อัตราป่วยทุกครัวเรือนในกลุ่มเป้าหมายลดลง
  • บ้านเรือน หมู่บ้าน ชุมชนน่าอยู่น่ามอง ร้อยละ 70 ของครัวเรือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวในการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำไปใช้ประโยชน์

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์

 

120 0

2. กิจกรรมประกวดครอบครัวปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้  เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้  เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากผลการดำเนินโครงการชุมชนปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย ของชมรม อสม.รพ.สต.บ้านทุ่งยาว
กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำสุขภาพครบครัวในการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำไปใช้ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมายคือแกนนำสุขภาพครอบครัวได้รับการอบรมเพิ่มพูนองค์ความรู้ในด้านการดำเนินงานการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ทุกคน ซึ่งในการอบรมครั้งนี้เป็นการสร้างจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดครัวเรือน ชุมชน และวัฒนธรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน โดยแบ่งประเด็นการจัดการขยะออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับที่ 1 ระดับครัวเรือน ปัญหาขยะมูลฝอยในครัวเรือน แนวทางการจัดการขยะในครัวเรือนย ระดับที่ 2 ระดับชุมชน ปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน การดำเนินการต่อยอด คือ ถอดบทเรียนและคืนข้อมูล

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบ 3 หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ทุกครอบครัวกลุ่มเป้าหมายมีการจัดการขยะทุกครัวเรือน ชุมชน
4.00 120.00 120.00

 

2 เพื่อให้บ้านเรือน ชุมชน หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง
ตัวชี้วัด : บ้านเรือน ชุมชน หมู่บ้าน น่าอยู่ น่ามอง ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมาย
4.00 120.00 120.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด และสร้างธรรมนูญสุขภาพครบ 3 หมู่บ้าน (2) เพื่อให้บ้านเรือน ชุมชน หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่น่ามอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัวในการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำไปใช้ประโยชน์ (2) กิจกรรมประกวดครอบครัวปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชุมปลอดขยะ ปลอดโรค ปลอดภัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด