กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่าย การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการสัมผัสสารเคมี ทางการเกษตรในเขต รพ.สต.บ้านปิเหล็ง
รหัสโครงการ 63-L2480-1-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็ง
วันที่อนุมัติ 29 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 17,523.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายดานิช ดิงปาเนาะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติปี 2561 จำนวนผู้มีงานทำทั้งหมด 38.3 ล้านคน พบว่าเป็นแรงงานนอกระบบ 21.2 ล้านคนโดยมกกว่าครึ่งหนึ่ง ( 11.7 ล้านคน ) ทำงานอยู่ในภาคเกษตรกรรมขณะเดียวกัน ปี 2560พบว่ามีการนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตรเพิ่มมากขึ้นจากปี 2559 จำนวน 3.4 หมื่นตันและ พบว่าสถานณ์การการเจ็บป่วยโวยโรคพิษสารเคมีทางการเกษตรปี 2560 มีอัตราป่วย 16.81 ต่อประชากรแสนราย ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2559 ( อัตราป่วย 14.47ต่อประชากรแสนราย ) โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยทำงานอาชีพเพาะปลูกพืชไร่และพืชผักทั้งนี้พบว่ายังมีการใช้สารเดมีชนิดอันตรายร้ายแรงที่ต่างประเทศเลิกใช้แล้วเช่นสารกำจัดวัชพืชพาราควอต ซึ่ง ปี 2556 – 2560 พบผู้ป่วยจากการสัมพัสสารกหำจัดวัชพืชพาราควอต 502 รายโดยมีแนวโน้มสูงขึ้นซึ่งคาดการณ์ว่ามีการรายงานต่ำกว่าความเป็นจริงจึงมีความจำเป็นต้องจัดทำโครงการพัฒนาเครือข่าย การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการสัมผัสสารเคมี ทางการเกษตรในเขต รพ.สต.บ้านปิเหล็ง และจัดทำฐานข้อมูลอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมด้านการเกษตร เพื่อนำไปสู่การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีทางการเกษตรและเพื่อขับเคลื่อนการยกเลิกใช้สารเคมีทางการเกษตรในภาคการเกษตรต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาทีมเครือข่าย เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับเกษตรกร

-ร้อยละ 60 –ของหมู่บ้านมีการขับเคลื่อนมาตราการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่อันตรายสูงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

100.00 100.00
2 เพื่อจัดทำฐานข้อมูลสุขภาพของเกษตรกร ในพื้นที่

มีการจัดทำฐานข้อมูลอาชีวอนามัยและสิงแวดล้อม ด้านเกษตรกรรม

100.00 100.00
3 เพื่อพัฒนาทักษะทีมเครือข่าย เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

-ร้อยละ 60 ของหมู่บ้านมีระบบการแจ้งการใช้ การป่วยจากการสัมพัสสารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด ( พาราควอต  คลอรืไพริฟอส ไกลโฟเซต )

100.00 100.00
4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง

ร้อยละ 60 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง

100.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,523.00 0 0.00
??/??/???? อบรม 0 11,900.00 -
??/??/???? ตรวจสุขภาพ 0 5,623.00 -
  1. จัดทำแผนงาน/โครงการ
  2. นำเสนอโครงการเพื่อรับการพิจารณาอนุมัติ
  3. ประชุมคณะทำงาน
  4. จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการฯ
  5. อบรม ทีมเครือข่าย เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับเกษตรกร
  6. วิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพของเกษตรกร และดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของเกษตรกร
  7. สรุป วิเคราะห์ ประเมินผล การดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ทีมเครือข่าย เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับเกษตรกร มีการดำเนินงานที่ต่อเนื่องและเข้มแข็ง -ฐานข้อมูลสุขภาพของเกษตรกร ในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และมีความครอบคลุม
-ทีมเครือข่าย เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ โรคและภัยสุขภาพจากการสัมผัสสารเคมี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ต.ค. 2562 00:00 น.