โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ”
ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิรมล หะยีตาเย๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี
กุมภาพันธ์ 2563
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย
ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2543-3-17 เลขที่ข้อตกลง 16
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2543-3-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 28 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กรวมทั้งเรื่องอาหารและโภชนาการก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ซึ่งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไอกูบู มีเด็กจำนวน 28คน ปัญหาที่พบส่วนใหญ่เกี่ยวกับเด็ก คือไม่ชอบทานผัก ประมาณ 15 คน คิดเป็นร้อยละ 53.57 และไม่ชอบดื่มนมรสจืด ประมาณ 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมากับเด็กเองในอนาคตข้างหน้า
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไอกูบูได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก (คน)
- เพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก
- เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การติดตามและการประเมิน
- อบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย
- แบ่งกลุ่มและปฏิบัติการทำอาหาร (แซนวิช)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
28
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก
- ผู้ปกครองสามารถเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผักให้กับเด็ก
- ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกตรอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 28 คน ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขภาพอนามัยต่างๆ สามารถจัดโภชนาการให้กับเด็ก และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
28
0
2. แบ่งกลุ่มและปฏิบัติการทำอาหาร (แซนวิช)
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำ
สาธิตการประกอบอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
28
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก (คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้เกี่ยวกับด้านสุขอนามัย โภชนาการสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้น
31.00
13.00
2
เพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ผู้ปกครองสามารถเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผักให้กับเด็ก
31.00
3.00
3
เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
31.00
3.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
28
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
28
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก (คน) (2) เพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก (3) เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การติดตามและการประเมิน (2) อบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย (3) แบ่งกลุ่มและปฏิบัติการทำอาหาร (แซนวิช)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2543-3-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนิรมล หะยีตาเย๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ”
ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิรมล หะยีตาเย๊ะ
กุมภาพันธ์ 2563
ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2543-3-17 เลขที่ข้อตกลง 16
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2543-3-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 28 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กรวมทั้งเรื่องอาหารและโภชนาการก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ซึ่งในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไอกูบู มีเด็กจำนวน 28คน ปัญหาที่พบส่วนใหญ่เกี่ยวกับเด็ก คือไม่ชอบทานผัก ประมาณ 15 คน คิดเป็นร้อยละ 53.57 และไม่ชอบดื่มนมรสจืด ประมาณ 15 คน คิดเป็นร้อยละ 50 จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมากับเด็กเองในอนาคตข้างหน้า ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไอกูบูได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก (คน)
- เพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก
- เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การติดตามและการประเมิน
- อบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย
- แบ่งกลุ่มและปฏิบัติการทำอาหาร (แซนวิช)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 28 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก
- ผู้ปกครองสามารถเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผักให้กับเด็ก
- ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกตรอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 28 คน ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขภาพอนามัยต่างๆ สามารถจัดโภชนาการให้กับเด็ก และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
28 | 0 |
2. แบ่งกลุ่มและปฏิบัติการทำอาหาร (แซนวิช) |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำสาธิตการประกอบอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
|
28 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก (คน) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้เกี่ยวกับด้านสุขอนามัย โภชนาการสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้น |
31.00 | 13.00 |
|
|
2 | เพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ผู้ปกครองสามารถเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผักให้กับเด็ก |
31.00 | 3.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
31.00 | 3.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 28 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 28 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ให้มีความรู้ด้านสุขอนามัยต่างๆและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก (คน) (2) เพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคนมและผัก (3) เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การติดตามและการประเมิน (2) อบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย (3) แบ่งกลุ่มและปฏิบัติการทำอาหาร (แซนวิช)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L2543-3-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนิรมล หะยีตาเย๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......