กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล

ชื่อโครงการ บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน



บทคัดย่อ

โครงการ " บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 536,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๔๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของ ประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีกรและรูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๕๐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนยุทธศาสตร์ชาติระ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๑ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรไทย ที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ จากข้อมูลของมูลนิธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย ประชากรไทยในปี ๒๕๕๘ มีจำนวน ๖๕.๑ ล้านคน เป็นประชากรอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป จำนวน ๑๑ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๖ ของประชากรทั้งหมดและคาดการณ์ว่าสัดส่วนของผู้สูงอายุมีแนวโน้มสูงขึ้นจากข้อมูลประชากรกลางปี จำนวนของผู้สูงอายุและผู้สูอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จะมีจำนวนมากขึ้นรัฐบาลมีนโยบายด้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูอายุในทุกช่วงวัย สนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านต่างๆ อย่างครอบคลุม ใน ๔ มิติ ได้แก่ มิติต้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้นเศรษฐกิจ รวมทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและบริการสาธารณะ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมศักยภาพให้สมารถพึ่งตนเองได้ และใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข รวมทั้งการจัดบริการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะ พึ่งพิง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ ประกอบกับความเจริญด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่ปรับตัวไม่ทันต่อสถานการณ์ต่างๆ ก่อให้เกิดภาวะด้านจิตใจ เกิดความเครียด ขาดการพักผ่อนหย่อนใจ ส่งผลกระทบให้การดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ขาดความสนใจในการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม และการบริโภคอาหารที่พอเหมาะพอควร เพื่อให้มีภาวะโภชนาภารที่ดี ลดการเจ็บป่วยของโรคต่างๆ ความพิการซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ จากสาเหตุของโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหลอดเลือดในสมองอุดตันเป็นต้น เทศบาลนครหาดใหญ่ได้มีนโยบายด้านการสาธารณสุข เพื่อสร้างโอกาสและทางเลือกในการรับบริการด้าน สุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยกาจัดตั้งเป็นศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุขขึ้น เพื่อให้บริการประชาชน ด้วยการแพทย์ผสมผสาน เน้นการเรียนรู้และบูรณการความรู้ด้านการแพทย์และภูมิปัญญาตะวันออก เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่อย่างทั่วถึง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสนในกลุ่มอื่นๆว่าต้องการเตรียมพร้อมเข้าสู่ภาวะที่ร่างกายเสื่อมถอยก็เป็นสั่งสำคัญที่ทำให้กลุ่มคนเกิดสภาพเสื่อมถอยด้วยความรู้ต่างๆ เป็นการชะลอวัย การดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเอง ตามศาสตร์ต่างๆไม่ว่าจะเป็นการนันทนาการ และความรู้ต่างๆอีกมากมายขึ้นเพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง และเกิดความร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน การดำเนินชีวิต
  2. เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก
  3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริม ทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมด้านการแพทย์แผนไทย
  2. กิจกรรมโภชนาการ
  3. กิจกรรมแพทย์ทางเลือก
  4. กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬา
  5. กิจกรรมกายภาพบำบัด
  6. กิจกรรมบำบัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนและผู้ที่สนใจครับความรู้จากการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยการแพทย์พื้นบ้านและแพทย์ทางเลือกสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

๒.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และสังคม

๓.ประชาชนให้ความสนใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬา

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬา - แอโรบิคในน้ำ - ฟิตเนส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีการทอสอบสมรรถภาพทางกายหลังเข้าร่วมกิจกรรมแล้ว สมรรถภาพทางกายดีขึ้นหลังจากได้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

 

150 0

2. กิจกรรมกายภาพบำบัด

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมกายภาพบำบัด - วารีบำบัด - โยคะ - เต้นประกอบจังหวะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการวารีบำบัดสำหรับการฟื้นฟูบำบัดโรค ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการเต้นประกอบจังหวะและโยคะอย่างถูกวิธี สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นการส่งเสริมสุขภาพเพื่อการป้องกันโรค

 

200 0

3. กิจกรรมบำบัด

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมบำบัด - สมาธิบำบัด - ดนตรีบำบัด - งานประดิษฐ์ - การจัดดอกไม้จัดใจ - ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการอารมณ์ การฝึกสาธิ การทำงานประดิษบ์จากวัสดุเหลือใช้ การจัดดอกมไ้เพื่อการฝึกสมาธิ และความรู้รอบตัวเรื่องภาษาอังกฤษพื้นฐาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

100 0

4. กิจกรรมด้านการแพทย์แผนไทย

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแพทย์แผนไทย - บรรยายและสาธิตการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เรื่องสมุนไพร  สามารถฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัฑ์สมุนไพร เช่น น้ำมันตะไคร้หอมไล่ยุง , ลูกประคบสมุนไพร ,ยาดมสมุนไพร

 

350 0

5. กิจกรรมแพทย์ทางเลือก

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแพทย์ทางเลือก
- การฝังเข็ม - การรมยา - การครอบแก้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้การฝังเข็ม การครอบแก้ว และการรมยา และได้รับการบำบัดรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือกดังกล่าว

 

100 0

6. กิจกรรมโภชนาการ

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมโภชนาการ - บรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่องเกษตรอินทรีย์ - ยรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนที่เข้าร่วมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ และการทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอและนำไปต่อยอดประกอบเป็นอาชีพได้

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน การดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ประชาชนและผู้สนใจ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริม ทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มาร่วมกิจกรรมมากกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน การดำเนินชีวิต (2) เพื่อให้ประชาชนและผู้สนใจ ได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก (3) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และสร้างเสริม ทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย ทั้งด้านสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและภูมิปัญญา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมด้านการแพทย์แผนไทย (2) กิจกรรมโภชนาการ (3) กิจกรรมแพทย์ทางเลือก (4) กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬา (5) กิจกรรมกายภาพบำบัด (6) กิจกรรมบำบัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


บริการและส่งเสริมสุขภาพแบบผสมผสาน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด