กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายณฤตณ เพ็ชรมี




ชื่อโครงการ ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง



บทคัดย่อ

โครงการ " ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 มีนาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,165.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคที่มีอุบัติการณ์สูงในประเทศแถบตะวันตก เช่น สหรัฐอมริกาและประเทศทางยุโรป โดย ในประเทศสหรัฐอเมริกาประชากรมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ตลอดชีวิตประมาณร้อยละ ๖ หรือ ๑ ต่อ ๒๐ ของ ประชากร ประมาณการว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เกิดขึ้น ๑๓๘,๐๐๐ ราย/ปี และจะมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ ประมาณ ๖๐,๐๐๐ คนปี สำหรับประเทศไทยมะเร็งลำไส้ใหญ่มีอุบัติการณ์ต่ำกว่าในประเทศที่พัฒนาแล้ว จากสถิติของ สถานวิทยามะเร็ง โรงพยาบาลศิริราช พบว่ามะเร็งลำไส้ใหญ่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ ๔ในเพศชาย รองจากมะเร็งตับ มะเร็งปอดและมะเร็งต่อมลูกหมากส่วนในเพศหญิงพบมากเป็นอันดับ ๓ รองจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม แม้ว่ามะเร็งลำไส้ใหญ่จะเกิดขึ้นได้ในทุกข่วงอายุ แต่อัตราเสี่ยงของการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่จะสูงขึ้นในผู้สูงอายุ ที่ผ่านมา พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะถูกวินิจฉัยในช่วงอายุระหว่าง ๕๐ - ๗๐ ปี เนื่องจากผู้ป่วยจำนวนมากจะไม่มีอาการให้เห็นใน ระยะแรก จนกว่าตัวเนื้องอกจะมีขนาดค่อนข้างใหญ่ การตรวจคัดกรองจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากในการรักษาชีวิต ผู้ป่วยและการป้องกันการเกิดมะเร็งลำไล้ใหญ่โดยเฉพาะในผู้ที่มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไปทำให้ตรวจพบความผิดปกติและรักษา ได้ตั้งแต่ในระยะก่อนเป็นมะเร็งหรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก ซึ่งพบว่าสามารถลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งลำไส้ ใหญ่ได้อย่างชัดเจน ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็ง ลำไส้ใหญ่ขึ้นเพื่อตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายอายุ ๕๐๗๐ ปี โดยใช้ Fit Test เป็นการตรวจคัดกรองที่ดี ราคาไม่แพง และไม่ยุ่งยาก ซึ่งการคัดกรองจะช่วยให้พบผู้ป่วยมะเร็งในระยะแรกเริ่มและสามารถรักษาให้หายขาดได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงได้มีโอกาสเข้าถึง การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้มากขึ้น
  2. เพื่อให้สามารถตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะแรก (early stage) ได้มากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์
  2. ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และมะเร็งลำไส้ตรง
  3. จัดอบรมให้ความรู้สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำสุขภาพและอสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชากรที่มีความเสี่ยงสูงได้มีโอกาสเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่มากขึ้น

๒.สามารถตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะแรก (early stage) ได้มากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์

วันที่ 20 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางเฟซบุ๊กแฟนเพจของสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม และเวปไซต์เทศบาลนครหาดใหญ่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์

 

0 0

2. ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และมะเร็งลำไส้ตรง

วันที่ 14 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ให้บริการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ให้กับประชาชน ระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม - 14 สิงหาคม 2563
  2. ส่งต่อผุ้มีภาวะเสี่ยง
  3. ให้ความรุ้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,000 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้โดยการหาสาร CEA จากเซรั่มเลือด
  2. พบผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ จำนวน 34 ราย
  3. ผู้ที่ตรวจพบความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ ได้รับการส่งต่อ
  4. ประชาชนได้รับความรู้การป้องกันตนเองจากมะเร็งลำไส้ใหญ่

 

0 0

3. จัดอบรมให้ความรู้สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำสุขภาพและอสม.

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงได้มีโอกาสเข้าถึง การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้มากขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชากรที่มีอายุ ๕๐ปื ขึ้นไป ในเขตเทศบาลได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยการตรวจหา Occult blood จำนวนศูนย์ฯ ละ ๑๐๐ คน
0.00

 

2 เพื่อให้สามารถตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะแรก (early stage) ได้มากขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยการตรวจหา Occult blood ได้รับการรักษาต่อโดยการส่องกล้องลำไส้ใหญ่ผิดปกติ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงได้มีโอกาสเข้าถึง การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้มากขึ้น (2) เพื่อให้สามารถตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะแรก (early stage) ได้มากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และมะเร็งลำไส้ตรง (3) จัดอบรมให้ความรู้สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำสุขภาพและอสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณฤตณ เพ็ชรมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด