กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายณตฤณ เพ็ชรมี




ชื่อโครงการ สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-35 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 372,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำในประเทศไทย รายงานการจมน้ำระดับโลก(Global Report on Drowning) ขององค์กรอนามัยโลก พบว่าทุกปีมีด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ ๑๔๐,๒๑๙ คน โดยเสียชีวิตเป็นอันดับ ๓ รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และเอดส์ ประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันตับ 1 ของเด็กไทยอายุต่ำว่า ๑๕ ปีในทุก ๆ วันจะมีเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ) จมน้ำเสียชีวิต ๒ คน จากข้อมูลเหตุการณ์เด็กจมน้ำช่วงปิดเทอม (มีนาคม-พฤษภาคม) พบว่ร้อยละ ๘๐.4 ของเด็กที่จมน้ำ ส่วนให่ญขาดทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและไม่รู้วิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จากข้อมูลการฝระวังของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ที่ ๑๒ จังหวัดสขลา การจมน้ำของเด็กในเชต ๑2 พบว่าพื้นที่เสี่ยงมาก อยู่ในจังหวัดสตูล และปัตตนี พื้นที่เสียงปานกลาง ได้แก่ งังหวัดสงขลาและนราธิวาส ส่วนพื้นที่ส่วนพื้นที่เสียงน้อย ได้แก่ จังหวัดตรัง พัทลุงและยะลา ช่วงระยะเวลาที่ต้องฝ้ระวังการจมน้ำ คือการจมน้ำ คือในช่วงปิดภาคเรียนฤดูร้อนตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน สาเหตุการเสียชีวิตมาจากการจมน้ำเป็นเวลานาน ณ จุดเกิดเหตุ และการไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้องทันเวลา พบผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต้ำกว่า 1๕ ปี จำนวน ๔๕ คน เพศชายสูงกว่าเพศหญิง สถานที่เกิดเหตุส่วนใหญ่เกิดในคลอง แม่น้ำ แองน้ำ น้ำต รองลงมาเป็นคลองชุด ร่องขุด คลองชลประทานฝ่ายกั้นน้ำ และทะเล เด็กมักจะจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันหลาย ๆ คน เนื่องจากเด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำและวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จึงมักจะกระโดด ลงไปช่วยคนที่ตกน้ำ ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งเด็กที่ประสบเหตุและผู้ที่ให้การรช่วยเหลือและจากการศึกษาของสำนักงานโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พบว่เด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑5 ปี สมารถว่ายน้ำได้มีร้อยละ ๒3.๗) และสามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ โดยมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยหลือ มีเพียร้อยละ ๔.๔ ทั้งนี้ เด็กที่เรียนหลักสูตว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจะมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำมากกว่าคนที่ไม่ได้เรียน ในการนี้ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดโครงการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียนขึ้น เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนและสถานศึษา มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในบื้องตัน และเพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็ก เยาวชน ในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะในการลอยตัวและทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้
  2. 2.เพื่อลดอันตราการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อายุต่ำกว่า 15 ปี
  3. 3. เพื่อให้เด็ก เยาวชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการหยิบยื่นโยนวัสดุใกล้ตัวอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดและการปฐมพยาบาลจากการจมน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการป้องกันการจมน้ำ และการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ 2.เพื่อลดปัญหาเด็กอายุต่ำกว่า15ปีเสียชวิตจากการจมน้ำ 3.เพื่อให้เด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาลเบื่อต้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดและการปฐมพยาบาลจากการจมน้ำ

วันที่ 30 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้นักเรียยนสมารถช่วยเหลือตัวเองได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนนักศึกษาได้รับร่วมมือในกิจกรรมในครั้งนี้

 

1,440 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็ก เยาวชน ในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะในการลอยตัวและทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้ารับการอบรมฝึกผ่านการประเมินทักษะการฝึกปฎิบัติ ร้อยละ 100
0.00

 

2 2.เพื่อลดอันตราการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อายุต่ำกว่า 15 ปี
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าการฝึกอบรมเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมไม่น้อยกว่า 80
0.00

 

3 3. เพื่อให้เด็ก เยาวชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการหยิบยื่นโยนวัสดุใกล้ตัวอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีตงามพึงพอใจต่อกระบวนการอบรม ไม่น้อยกว่า ร้อยละ75
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็ก เยาวชน ในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะในการลอยตัวและทักษะการเอาตัวรอดจากการจมน้ำได้ (2) 2.เพื่อลดอันตราการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในพื้นที่เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อายุต่ำกว่า 15 ปี (3) 3. เพื่อให้เด็ก เยาวชนในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการหยิบยื่นโยนวัสดุใกล้ตัวอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดและการปฐมพยาบาลจากการจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำในเด็กนักเรียน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-35

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณตฤณ เพ็ชรมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด