กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด


“ โครงการปรับได้หมดเพื่อชีวิตที่สดชื่น ”

ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายชำนาญ สุดสอาด

ชื่อโครงการ โครงการปรับได้หมดเพื่อชีวิตที่สดชื่น

ที่อยู่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5311-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับได้หมดเพื่อชีวิตที่สดชื่น จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับได้หมดเพื่อชีวิตที่สดชื่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับได้หมดเพื่อชีวิตที่สดชื่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5311-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวนิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงเช่นการเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงขาดการออกกำลังกายเครียดทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาสุขภาพอนามัยคือการที่ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม โดยนอกจากหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ ก็ยังมีอาสาสมัครสาธารณสุขที่ต้องมีบทบาทหน้าที่ในด้านการส่งเสริมป้องกันรักษาและฟื้นฟูสภาพแล้ว ประชาชนต้องดูแลตนเองโดยเริ่มตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชนและภาคประชาสังคมต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนของตนเอง สามารถจัดการการดูแลสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและสังคม ให้เอื้อต่อการมีการมีสุขภาพที่ดีและเป็นสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข จากการสำรวจพบว่าปัญหาที่สำคัญ เรียงตามลำดับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง หัวใจหลอดเลือดและหลอดเลือดสมองโดยพบโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมากที่สุด และมีแนวโน้มสูงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยอีกกว่าร้อยละ60ที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ตามเกณฑ์ได้ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงมาอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรคการพัฒนาระบบบริการเป้าหมายดำเนินการเน้นหนักในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ครอบคลุมประชากรกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา อัตราอุบัติการณ์ของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและยังพบว่าโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าโรคเบาหวาน และพบอัตราอุบัติการณ์โรคหัวใจและหลอดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยโรคหัวใจและหลอดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง เป็นและยังพบว่า โรคหลอดเลือดสมอง มากกว่าโรคหัวใจขาดเลือด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมถูกต้อง
  2. 2 อัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดตามกลุ่มเป้าหมาย
  2. อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน จำนวน ๒๔๐ คน มีความรู้ ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ถูกต้อง ร้อยละ ๙๐ ๒. อัตราการเกิดโรคเรื้อรัง รายใหม่ ลดลง ๑๐ %


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค้นหากลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 1 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ค้นหากลุ่มเสี่ยงคัดกรองเบาหวานหมู่บ้านละ40 คน6หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ  35  ปีขึ้นไป  ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง  จำนวน  240  คน  พบว่า การคัดกรองเบาหวาน กลุ่มปกติ          132  คน  คิดเป็นร้อยละ  55 กลุ่มเสี่ยง          102  คน คิดเป็นร้อยละ  42.50 กลุ่มสงสัยเป็นโรค  6  คน คิดเป็นร้อยละ 2.50 การคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มปกติ          187  คน คิดเป็นร้อยละ  77.91 กลุ่มเสี่ยง          37  คน คิดเป็นร้อยละ  15.41 กลุ่มสงสัยเป็นโรค 16  คน คิดเป็นร้อยละ  6.60

 

240 240

2. อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพ

วันที่ 16 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพ อสม.  จำนวน  24  คน  ให้ความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและโรคเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำสุุขภาพอสม. ได้รับความรู้ในเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และโรคเรื้อรัง และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้นและสามารถนำไปเผยแพร่ความรู้ต่อในครอบครัวและชุมชนต่อไปได้

 

240 0

3. ติดตามกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 17 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มเสี่่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ผลจากการจัดอบรม และมีการติดตาม ครบ 3 ครั้ง พบว่า จากจำนวน กลุ่มเป้าหมาย 240 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มเสี่่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ผลจากการจัดอบรม และมีการติดตาม ครบ 3 ครั้ง พบว่า จากจำนวน กลุ่มเป้าหมาย 240 คนผลการคัดกรองพบว่า การคัดกรองเบาหวาน กลุ่มปกติ132 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 กลุ่มเสี่ยง 102 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 กลุ่มสงสัยเป็นโรค6 คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 การคัดกรองความดันโลหิตสูง กลุ่มปกติ 187คนคิดเป็นร้อยละ 77.91 กลุ่มเสี่ยง 37คนคิดเป็นร้อยละ 15.41 กลุ่มสงสัยเป็นโรค16คนคิดเป็นร้อยละ 06.60

 

240 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มเสี่่ยงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง ผลจากการจัดอบรม และมีการติดตาม ครบ 3 ครั้ง พบว่า จากจำนวน กลุ่มเป้าหมาย 240 คน  ผลการคัดกรองพบว่า การคัดกรองเบาหวาน     กลุ่มปกติ                  132    คน คิดเป็นร้อยละ 55.00     กลุ่มเสี่ยง                102    คน คิดเป็นร้อยละ 42.50     กลุ่มสงสัยเป็นโรค        6      คน คิดเป็นร้อยละ 02.50 การคัดกรองความดันโลหิตสูง     กลุ่มปกติ                  187    คน  คิดเป็นร้อยละ 77.91   กลุ่มเสี่ยง                    37    คน  คิดเป็นร้อยละ 15.41   กลุ่มสงสัยเป็นโรค          16    คน  คิดเป็นร้อยละ 06.60

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมถูกต้อง มากกว่าร้อยละ90

 

2 2 อัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลงร้อยละ 10

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมถูกต้อง (2) 2 อัตราการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามกลุ่มเป้าหมาย (2) อบรมให้ความรู้แกนนำสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับได้หมดเพื่อชีวิตที่สดชื่น จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5311-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชำนาญ สุดสอาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด