กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โคกสักตกสะอาดด้วยมือเรา ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิโรจน์ ประกอบการ นายสมัคร สุวรรณสาม

ชื่อโครงการ โคกสักตกสะอาดด้วยมือเรา

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 ตุลาคม 2562 ถึง 15 พฤศจิกายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โคกสักตกสะอาดด้วยมือเรา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โคกสักตกสะอาดด้วยมือเรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โคกสักตกสะอาดด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 ตุลาคม 2562 - 15 พฤศจิกายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ พบว่าในปีพ.ศ. ๒๕๖๑ มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ ๒๗.๘ ล้านตัน เมื่อเปรียบเทียบกับปีพ.ศ. ๒๕๖๐ พบว่ามีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ ๑.๖๔ เนื่องจากการขยายตัวของชุมชนเมือง และการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมเมือง การเพิ่มขึ้นของประชากร การส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยในหลายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น (กรมมลพิษ, ๒๕๖๒) ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้างเป็นจำนวนมากในแต่ละวันส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชน ได้แก่ บ้านเมืองสกปรก ส่งผลเสียต่อทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ท่อระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ และพาหะนำโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ เกิดการปนเปื้อนของสารพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท ลงสู่พื้นดิน และแหล่งน้ำ เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่า ควัน จากการเผาขยะ ขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้ตกค้างสู่สิ่งแวดล้อม (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๖๑)
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ได้มีนโยบายการลดขยะจากต้นทางเพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ และปัญหาการใช้โฟมบรรจุอาหาร ทั้งนี้ เพื่อขับเคลื่อนการจัดการขยะมูลฝอยได้อย่างเป็นระบบ โดยรณรงค์ให้ครัวเรือนลดปริมาณขยะ ใช้หลักการใช้น้อย ใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้ใหม่ สร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในการลดขยะต้นทางของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งได้ดำเนินการในหลายพื้นที่ของอำเภอคลองหอยโข่ง อีกทั้งปัญหาขยะเป็นปัญหาสำคัญ ๑ ใน ๑๐ ของปัญหาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ของตำบลโคกม่วง ดังนั้นจึงมีนโยบายในการจัดการขยะ โดยมีแนวทางให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชน เน้นการคัดแยกประเภทขยะในครัวเรือน ลดถังขยะในชุมชน เป็นต้น จากการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการลงพื้นที่สำรวจ ณ หมู่ที่ ๓ บ้านโคกสักตก ตำบลโคกม่วง ในระหว่างวันที่ ๑๖ – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ประสบปัญหาการจัดการขยะ เนื่องจากในชุมชนมีขยะเลื่อนลอยจำนวนมาก และคนในชุมชนยังมีความรู้ในการคัดแยกและกำจัดขยะในครัวเรือนไม่เพียงพอ ส่งผลให้ปริมาณขยะในชุมชนเพิ่มมากขึ้น จากการจัดทำเวทีประชาคม        เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งประกอบไปด้วยผู้นำชุมชน นายกเทศมนตรีตำบลโคกม่วง ตัวแทนจากเทศบาลตำบลโคกม่วง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโคกม่วง ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น ๕๓ คน มีมติที่ประชุมได้ลงคะแนนเสียงส่วนใหญ่ให้จัดโครงการที่เกี่ยวกับการจัดการขยะ โดยเสนอให้จัดทำโครงการที่ครอบคลุมด้านการจัดการขยะ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับขยะ การจัดการขยะ การให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ เป็นต้น ดังนั้น ทางคณะนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ร่วมกับคณะผู้นำในชุมชนคณะกรรมการหมู่บ้าน และ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านได้จัดทำโครงการโคกสักตกสะอาดด้วยมือเรา โดยมี กำนันหมู่ที่ ๓ บ้านโคกสักตก เป็นประธานการดำเนินงาน ร่วมกับตัวแทนนักศึกษาจากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตหาดใหญ่ และภาคส่วนชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการขยะในชุมชน โดยมีกิจกรรมการให้ความรู้ใน เรื่องประเภทขยะ การคัดแยกขยะตามหลัก ๓Rs ผลเสียต่อสุขภาพ การตระหนักถึงปัญหาขยะในชุมชน ซึ่งนำไปสู่ความตระหนักของบุคคลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะและกำจัดขยะภายในครัวเรือน และสามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวันได้และก่อให้เกิดพฤติกรรมในการจัดการขยะที่เหมาะสม ลดอัตราอุบัติการณ์ของการเกิดโรคที่เกี่ยวเนื่องจากปัญหาขยะ เช่น ไข้เลือดออก โรคไข้ฉี่หนู วัณโรค เป็นต้น ลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และสัตว์นำโรคอื่น ๆ และการคัดแยกขยะเพื่อก่อให้เกิดรายได้ ทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณของชุมชน และประเทศชาติที่ต้องนำมาแก้ไขปัญหาดังกล่าว อีกทั้งทำให้ประเทศได้ก้าวสู่การพัฒนาได้อย่างเต็มภาคภูมิ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะ
  2. ๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะและจัดการขยะได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. สามารถลดปริมาณขยะในชุมชนได้ ๓. ประชาชนในชุมชนมีสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น ๔. ประชาชนในชุมชนมีรายได้จากการคัดแยกขยะ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถบอกประเภทของขยะและวิธีการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    0.00

     

    2 ๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถบอกผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการทุกคนให้ความร่วมมือในการจัดการขยะในชุมชน ๑๓ ครอบครัวแกนนำ มีการจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะ (2) ๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในผลกระทบของขยะต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โคกสักตกสะอาดด้วยมือเรา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิโรจน์ ประกอบการ นายสมัคร สุวรรณสาม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด