กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติสู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปี 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว


“ โครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติสู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปี 2560 ”

ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางมาริสามากเพ็ง

ชื่อโครงการ โครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติสู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติสู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติสู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติสู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในประเทศไทยปัญหาโรคไข้เลือดออกยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ที่ยังพบอัตราป่วยและป่วยตายอย่างต่อเนื่อง จากการายงานโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุขพบว่าตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 29 ธันวาคม 2559 ประเทศมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 62,405 ราย อัตราป่วย 95.38 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 60 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.10 จังหวัดตรังเป็นลำดับที่ 19 ของประเทศ จากข้อมูลรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) ของจังหวัดตรัง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 29 ธันวาคม 2559 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 770 ราย อัตราป่วย 120.16 ต่อแสนประชากร มีรายงายเสียชีวิต จำนวน 2 คน อัตราป่วยตาย ร้อยละ0.26 โดยอำเภอรัษฎาซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง มีได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราร้อยละ 6.50 ต่อแสนประชากร และยังไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ตำบลหนองบัวพบผู้สงสัยไข้เลือดออกในปี 2559 จำนวน 15 ราย ซึ่งหากยังขาดการควบคุมป้องกันที่มีประสิทธิภาพจะทำให้ไข้เลือดออกแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วได้ นอกจากนี้ยังมีโรคติดต่ออื่นๆ ที่มีการระบาดและต้องติดตามให้ทันตามสถานการณ์ ได้แก่ โรคอุจจาระร่วง ซึ่งยังคงเป็นโรคประจำถิ่นที่พบสูงสุดในปี 2559 และโรคติดต่อที่ยังพบในพื้นที่ คือ โรคปอดบวม โรคตาแดง โรคมือเท้าปาก โรควัณโรค เป็นต้น ซึ่งแต่ละโรคล้วนต้องให้ความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างจริงจัง เป็นหยุดการแพร่กระจายของเชื้อโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวตระหนักถึงความสำคัญของประเด็นปัญหาดังกล่าว และการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามนโยบายอำเภอควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อและภัยพิบัติ สู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืน เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่และโรคติดต่อตามนโยบาย และให้ประชาชนมีความรู้และการปฏิบัติในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ รวมทั้งมีทัศคติที่ถูกต้องและตระหนักถึงปัญหาโรคติดต่อและภัยพิบัติทางธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่และโรคติดต่อตามนโยบาย (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร)
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
  3. 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ทีม SRRT และ อสม. ตำบลหนองบัว และปฏิบัติการพ่นหมอกควัน
  2. กิจกรรมรณรงค์
  3. กิจกรรมประกวดหมู่บ้าน/โรงเรียนควบคุมโรคติดต่อและประเมินวัดปลอดลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถลดอัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆซึ่งเป็นปัญหาสำคัญตามยโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นที่
  2. ประชาชนและชุมชนมีทักษะในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื้นๆ
  3. ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื้นๆ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรณรงค์

วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้ารณรงค์ จำนวน 73 คนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ

 

70 73

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ทีม SRRT และ อสม. ตำบลหนองบัว และปฏิบัติการพ่นหมอกควัน

วันที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 34 คน ได้รับความรู้สามารถมาปฏิบัติการพ่นหมอกควัน 100 เปอร์เซ็นต์ อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 18.16 ต่อแสนประชากร

 

36 34

3. กิจกรรมประกวดหมู่บ้าน/โรงเรียนควบคุมโรคติดต่อและประเมินวัดปลอดลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนหมู่บ้านทั้ง 9 หมู่บ้านมีค่า HI ไม่เกิน 10 และจำนวนโรงเรียนทั้ง 4 โรง มีค่า CI= 0

 

48 48

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 18.16 ต่อแสนประชากร

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่และโรคติดต่อตามนโยบาย (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร)
ตัวชี้วัด :

 

2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่และโรคติดต่อตามนโยบาย (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 50 ต่อแสนประชากร) (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ (3) 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ทีม SRRT และ อสม. ตำบลหนองบัว และปฏิบัติการพ่นหมอกควัน (2) กิจกรรมรณรงค์ (3) กิจกรรมประกวดหมู่บ้าน/โรงเรียนควบคุมโรคติดต่อและประเมินวัดปลอดลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชาวหนองบัวร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติสู่ตำบลควบคุมโรคติดต่อเข้มแข็งแบบยั่งยืนตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปี 2560 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาริสามากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด