โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุรภรณ์ เกตุแสง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2563-L7275-01-001 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L7275-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,615.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์เป็นมาตรการหนึ่งในการบริบาลและเฝ้าระวังความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ไปรับบริการดูแลครรภ์จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างน้อย 5 ครั้ง และควรไปฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ทั้งนี้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราการตายของมารดาและทารกในภาพรวม รวมทั้งมารดาได้รับการตระเตรียมในการเลี้ยงดูทารกที่จะเกิดมา ย่อมส่งผลต่อคุณภาพเด็ก ไทยในอนาคต จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่กระตุ้นให้ไปฝากครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลและแรงสนับสนุนจากครอบครัว ในเขตพื้นที่ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีพ.ศ.2561พบว่าที่ผ่านมามีหญิงตั้งครรภ์ 38 คน ได้รับการติดตามเยี่ยมดูแลครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพียง 6 คน (ร้อยละ 15.79 )ได้รับการติดตามเยี่ยมดูแลครบ 5 ครั้ง 18 คน(ร้อยละ 47.37) คน มีการฝากคครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 16 คน(42.11) ปัญหาดังกล่าวเกิดจากการ หญิงวัยเจริญพันธุ์เองยังไม่ให้ความสำคัญของดูแลสุขภาพในช่วงระยะ แรกของการตั้งครรภ์ และ การไม่มีข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนเพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์ได้เข้าถึงบริการก็เป็นปัญหาหนึ่ง และหลังคลอดพบว่าหญิงหลังคลอดไม่ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปัญหาหลักที่พบส่วนใหญ่เกิดจากมีน้ำนมไม่เพียงพอ แม่ไปทำงาน จากสถิติข้อมูลการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ปีพ.ศ.2561 พบว่าหญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนเพียงร้อยละ 50ความคลอบคุมวัคซีน และการติดตามประเมินพัฒนาการยังไม่ได้ 100 เปอร์เซนต์
จากปัญหาดังกล่าวศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุกศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 เพื่อสร้างองค์ความรู้ จัดกิจกรรมเยี่ยมดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ไปฝากครรภ์แต่เนิ่นและอย่างต่อเนื่องที่หน่วยบริการ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตลอดจนการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย ซึ่งย่อมเป็นผลดีแก่สุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกที่จะเกิดมา รวมถึงต่อความมั่นคง มั่งคั่งของประเทศในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป)
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
- เพื่อให้หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
- เพื่อส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- ค้นหา เยี่ยมดูแล เฝ้าระวังหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีการตั้งครรภ์
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์
- ติดตามเยี่ยมหลังคลอด
- ติดตามประเมินพัฒนาการตามวัย
- จัดมุมสร้างเสริมพัฒนาการ
- สรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
- หญิงตั้งครรภ์ได้เข้าถึงบริการและมีการฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์
- หญิงหลังคลอดสามารถดูแลสุขภาพได้ถูกต้องเหมาะสม
- การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวมีจำนวนเพิ่มขึ้น
- เด็กอายุแรกเกิด – 1ปี มีพัฒนาการสมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ติดตามประเมินพัฒนาการตามวัย
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
50
0
2. ติดตามเยี่ยมหลังคลอด
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
50
0
3. จัดมุมสร้างเสริมพัฒนาการ
วันที่ 1 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป)
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ครั้งแรกตั้งแต่อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ60
0.00
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ถูกต้องร้อยละ 80
0.00
3
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้ง ร้อยละ 60
0.00
4
เพื่อให้หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามเยี่ยมร้อยละ 90
0.00
5
เพื่อส่งเสริมให้หญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : แม่หลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนร้อยละ60
0.00
6
เพื่อส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 1ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ90
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป) (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง (4) เพื่อให้หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง (5) เพื่อส่งเสริมให้หญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน (6) เพื่อส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการสมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ค้นหา เยี่ยมดูแล เฝ้าระวังหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีการตั้งครรภ์ (4) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์ (5) ติดตามเยี่ยมหลังคลอด (6) ติดตามประเมินพัฒนาการตามวัย (7) จัดมุมสร้างเสริมพัฒนาการ (8) สรุปโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2563-L7275-01-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุรภรณ์ เกตุแสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุรภรณ์ เกตุแสง
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2563-L7275-01-001 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L7275-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,615.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การฝากครรภ์เป็นมาตรการหนึ่งในการบริบาลและเฝ้าระวังความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ไปรับบริการดูแลครรภ์จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างน้อย 5 ครั้ง และควรไปฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ทั้งนี้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราการตายของมารดาและทารกในภาพรวม รวมทั้งมารดาได้รับการตระเตรียมในการเลี้ยงดูทารกที่จะเกิดมา ย่อมส่งผลต่อคุณภาพเด็ก ไทยในอนาคต จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่กระตุ้นให้ไปฝากครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลและแรงสนับสนุนจากครอบครัว ในเขตพื้นที่ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีพ.ศ.2561พบว่าที่ผ่านมามีหญิงตั้งครรภ์ 38 คน ได้รับการติดตามเยี่ยมดูแลครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพียง 6 คน (ร้อยละ 15.79 )ได้รับการติดตามเยี่ยมดูแลครบ 5 ครั้ง 18 คน(ร้อยละ 47.37) คน มีการฝากคครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 16 คน(42.11) ปัญหาดังกล่าวเกิดจากการ หญิงวัยเจริญพันธุ์เองยังไม่ให้ความสำคัญของดูแลสุขภาพในช่วงระยะ แรกของการตั้งครรภ์ และ การไม่มีข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ในชุมชนเพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์ได้เข้าถึงบริการก็เป็นปัญหาหนึ่ง และหลังคลอดพบว่าหญิงหลังคลอดไม่ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ปัญหาหลักที่พบส่วนใหญ่เกิดจากมีน้ำนมไม่เพียงพอ แม่ไปทำงาน จากสถิติข้อมูลการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ปีพ.ศ.2561 พบว่าหญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนเพียงร้อยละ 50ความคลอบคุมวัคซีน และการติดตามประเมินพัฒนาการยังไม่ได้ 100 เปอร์เซนต์ จากปัญหาดังกล่าวศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุกศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 เพื่อสร้างองค์ความรู้ จัดกิจกรรมเยี่ยมดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ไปฝากครรภ์แต่เนิ่นและอย่างต่อเนื่องที่หน่วยบริการ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ตลอดจนการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัย ซึ่งย่อมเป็นผลดีแก่สุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกที่จะเกิดมา รวมถึงต่อความมั่นคง มั่งคั่งของประเทศในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป)
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
- เพื่อให้หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง
- เพื่อส่งเสริมให้หญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
- เพื่อส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- ค้นหา เยี่ยมดูแล เฝ้าระวังหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีการตั้งครรภ์
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์
- ติดตามเยี่ยมหลังคลอด
- ติดตามประเมินพัฒนาการตามวัย
- จัดมุมสร้างเสริมพัฒนาการ
- สรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
- หญิงตั้งครรภ์ได้เข้าถึงบริการและมีการฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์
- หญิงหลังคลอดสามารถดูแลสุขภาพได้ถูกต้องเหมาะสม
- การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวมีจำนวนเพิ่มขึ้น
- เด็กอายุแรกเกิด – 1ปี มีพัฒนาการสมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ติดตามประเมินพัฒนาการตามวัย |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
50 | 0 |
2. ติดตามเยี่ยมหลังคลอด |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
50 | 0 |
3. จัดมุมสร้างเสริมพัฒนาการ |
||
วันที่ 1 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป) ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ครั้งแรกตั้งแต่อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ60 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ถูกต้องร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้ง ร้อยละ 60 |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามเยี่ยมร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อส่งเสริมให้หญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ตัวชี้วัด : แม่หลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนร้อยละ60 |
0.00 |
|
||
6 | เพื่อส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด - 1ปีมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ90 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และกระตุ้นให้ไปฝากครรภ์เร็วที่สุด (ท้องปุ๊บ ฝากปั๊ป) (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง (4) เพื่อให้หญิงหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง (5) เพื่อส่งเสริมให้หญิงหลังคลอดได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน (6) เพื่อส่งเสริมให้ เด็กมีพัฒนาการสมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ค้นหา เยี่ยมดูแล เฝ้าระวังหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีการตั้งครรภ์ (4) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์ (5) ติดตามเยี่ยมหลังคลอด (6) ติดตามประเมินพัฒนาการตามวัย (7) จัดมุมสร้างเสริมพัฒนาการ (8) สรุปโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเชิงรุก ศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2563-L7275-01-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุรภรณ์ เกตุแสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......