โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ”
ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ที่อยู่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7256-1-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7256-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 160,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) เป็นกลไกในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขหรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพเกิดการเจ็บป่วย และเสียชีวิต นั่นหมายถึงความสามารถของบุคลากรที่ร่วมทีมในพื้นที่ ต้องมีความรับผิดชอบเฝ้าระวัง และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพซึ่งต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน การดำเนินงานจึงจะสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ก้าวต่อไปในการทำงานของทีม SRRT ทุกระดับ มุ่งหวังให้ทีม SRRT มีการยกระดับเป็นทีมที่สามารถทำหน้าที่เฝ้าระวัง ค้นหาเหตุการณ์ผิดปกติได้เร็วขึ้น มีการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม และมีความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ทันทีโดยที่ผ่านมาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557ได้ดำเนินโครงการฝึกอบรมเพื่อจัดตั้งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้ดำเนินโครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว และปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ดำเนินโครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวน เคลื่อนที่เร็วแต่ในการดำเนินงานจำเป็นต้องมีการอบรมฟื้นฟูและพัฒนาทีมอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำและโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่
ดังนั้นงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อฝ่ายบริการสาธารณสุขกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำ“โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) เทศบาลเมืองควนลัง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563” โดยขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลังจำนวน160,000.-บาท(เงินหนึ่งแสนสี่หมื่นบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฝึกอบรม
- กิจกรรมการป้องกันโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เทศบาลเมืองควนลัง มีความรู้ เข้าใจความเสี่ยงต่อการระบาดใหญ่ของโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ และภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการป้องกัน แก้ไขปัญหา
- ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เทศบาลเมืองควนลัง สามารถดำเนินการตอบสนองต่อการระบาดของโรค และภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ และโรคสงบ
- มีความพร้อมในการรับมือการระบาดของโรค และการประสานงานระหว่างหน่วยงานในตำบลให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ช่วงเช้า วิทยกรได้บรรยายการฝึกอบรมเรื่อง บทบาทภารกิจของทีม SRRT และเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- ช่วงบ่าย วิทยากรได้ถอดบทเรียน เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา โดยมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้ง 2 ช่วง จำนวน 183 คน ผู้ดำเนินงาน จำนวน 36 คน แขกผู้มีเกียรติ จำนวน 13 คน รวมผู้เข้าร่วมโครงการครั้งนี้ จำนวน 232 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรม (2) กิจกรรมการป้องกันโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7256-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ”
ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7256-1-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7256-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 160,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) เป็นกลไกในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขหรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพเกิดการเจ็บป่วย และเสียชีวิต นั่นหมายถึงความสามารถของบุคลากรที่ร่วมทีมในพื้นที่ ต้องมีความรับผิดชอบเฝ้าระวัง และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพซึ่งต้องได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน การดำเนินงานจึงจะสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ก้าวต่อไปในการทำงานของทีม SRRT ทุกระดับ มุ่งหวังให้ทีม SRRT มีการยกระดับเป็นทีมที่สามารถทำหน้าที่เฝ้าระวัง ค้นหาเหตุการณ์ผิดปกติได้เร็วขึ้น มีการตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม และมีความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้ทันทีโดยที่ผ่านมาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557ได้ดำเนินโครงการฝึกอบรมเพื่อจัดตั้งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้ดำเนินโครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว และปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้ดำเนินโครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวน เคลื่อนที่เร็วแต่ในการดำเนินงานจำเป็นต้องมีการอบรมฟื้นฟูและพัฒนาทีมอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำและโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ดังนั้นงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อฝ่ายบริการสาธารณสุขกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดทำ“โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) เทศบาลเมืองควนลัง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563” โดยขอสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลังจำนวน160,000.-บาท(เงินหนึ่งแสนสี่หมื่นบาทถ้วน)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฝึกอบรม
- กิจกรรมการป้องกันโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เทศบาลเมืองควนลัง มีความรู้ เข้าใจความเสี่ยงต่อการระบาดใหญ่ของโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ และภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการป้องกัน แก้ไขปัญหา
- ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เทศบาลเมืองควนลัง สามารถดำเนินการตอบสนองต่อการระบาดของโรค และภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ และโรคสงบ
- มีความพร้อมในการรับมือการระบาดของโรค และการประสานงานระหว่างหน่วยงานในตำบลให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ช่วงเช้า วิทยกรได้บรรยายการฝึกอบรมเรื่อง บทบาทภารกิจของทีม SRRT และเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- ช่วงบ่าย วิทยากรได้ถอดบทเรียน เรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา โดยมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้ง 2 ช่วง จำนวน 183 คน ผู้ดำเนินงาน จำนวน 36 คน แขกผู้มีเกียรติ จำนวน 13 คน รวมผู้เข้าร่วมโครงการครั้งนี้ จำนวน 232 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรม (2) กิจกรรมการป้องกันโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7256-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......