กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางนฤมล โต๊ะหลัง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5307-1-08 เลขที่ข้อตกลง 12/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5307-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก และยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมาพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง 5-9 ปี แต่ในปัจจุบันสามารถพบได้ทุกกลุ่มอายุ ทางกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการรณรงค์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2530 และดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกยังคงมีการระบาดทุกปีเพื่อเป็นการดูแลผู้ป่วยและเฝ้าระวังโรคติดต่อที่สำคัญแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2563ที่สำคัญแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อม ครบถ้วนของการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรคและส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป จากรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ปี2560– 2562พบมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน9,14 และ 10 รายตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนแสนประชากรเท่ากับ 239.11, 371.94,265.67 ตามลำดับจะเห็นได้ว่าอัตราการป่วย โรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน มีนาคม - กันยายน ของทุกปีซึ่งเป็นช่วงระหว่างปิดภาคเรียนพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิษฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุนชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียนและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่องโรคไข้เลือดออกสามารถป้องกันได้โดยการให้ประชาชนร่วมมือกันทำความสะอาด ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านและชุมชน โดยนำมาตรการป้องกันโรคไข้เลือดออก 5 ป 1 ข มาใช้ ได้แก่1. ปิด ปิดภาชนะกักเก็บน้ำ2. เปลี่ยนเปลี่ยนถ่ายน้ำ ทุก 7 วัน เช่น แจกันดอกไม้ ถังเก็บน้ำสำหรับอาบ 3. ปล่อยปลาหางนกยูง หรือปลากินลูกน้ำในอ่างบัว หรือที่กักเก็บน้ำที่ไม่มีฝาปิด 4. ปรับปรุง สิ่งแวดล้อมไม่ให้มีน้ำขังในที่ต่างๆ 5. ปฏิบัติการดังกล่าวข้างต้นเป็นประจำทุกสัปดาห์ และในช่วงฤดูร้อนต่อช่วงฤดูฝนต้องเพิ่ม 1 ข คือ ขัดภาชนะที่เคยใช้กักเก็บน้ำก่อนมารองรับน้ำครั้งใหม่ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน ร่วมกับ อสม. หมู่ที่1,4จึงได้จัดทำกิจกรรมโครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2563ขึ้น เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชนมิให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไปในวงกว้าง ป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าให้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดโรคและดำเนินการอย่างต่อเนื่องเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชนสถาบัน ต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไปได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรคและร่วมกับชุมชน บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เช่น จัดกิจกรรม Big Cleaning Day ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำชุมชน และอสม.มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมความพร้อมก่อนทำโครงการ
  2. อบรมแกนนำชุมชนและ อสม.
  3. ติดตามการสุ่มลูกน้ำยุงลายและสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม.และผุ้นำชุมชน 55

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แกนนำชุมชนและ อสม.มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
2.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรียมความพร้อมก่อนทำโครงการ

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมความพร้อมก่อนทำโครงการ ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (อบต.,อสม.,ผู้ใหญ่บ้าน,)ร่วมกันวางแผนดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการมีความเข้าใจในกิจกรรมต่างๆในโครงการนี้

 

0 0

2. อบรมแกนนำชุมชนและ อสม.

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 อบรมแกนนำชุมชนและ อสม 1.ทำหนังสือแจ้งการอบรมแก่กลุ่มเป้าหมาย
2.จัดอบรมแกนนำชุมชนและ อสม.ในเรื่องการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- ประเมินความรู้ก่อนการอบรม
- ประเมินความรู้หลังการอบรม
3.ร่วมกันวางแผนการเฝ้าระวังและติดตามการสุ่มลูกน้ำยุงลายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้ในเรื่องของโรคไข้่เลือดออก
2.สามารถมีแผนการดำเนินงานในเรื่องของการเฝ้าระวังและติดตามการสุ่มลูกน้ำยุงลายในชุมชน

 

55 0

3. ติดตามการสุ่มลูกน้ำยุงลายและสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 3 ติดตามการสุ่มลูกน้ำยุงลายและสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน - การสุ่มติตตามลูกน้ำยุงลายและสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน จะแบ่งกลุ่ม อสม.ออกเป็นกลุ่มๆละ 4-6 คน
- การสุ่มจะสลับกันสุ่มในแต่ละเขตรับผิดชอบของ อสม. เดือนละ 1 ครั้ง - ในเขตรับผิดชอบของแต่ละคนที่โดนสุ่มต้องไม่เจอลูกน้ำยุงลายเกิน 80% ของภาชนะที่มี
- มีการสรุปผลการสุ่มลูกน้ำยุงลายและสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านในวันประชุมประจำเดือน อสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.ในพื้นที่ได้มีการติดตามการสุ่มลูกน้ำยุงลายและมีการเฝ้าระวังในพื้นที่มากขึ้น ที่จะดูแลประชาชนให้ปลอดจากโรคไข้เลือดออก

 

49 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ปัญหา/อุปสรรค
1.อสม.บางคนมีภาระงานต้องทำงานประจำ จึงอาจจะเป็นอุปสรรคที่ต้องมารับการอบรมครั้งนี้ สภาพดินฟ้า อากาศ ฝนตก ก็เป็นปัญหาในการออกปฏิบัติในพื้นที่
2.ชาวบ้านในเขตรับผิดชอบไม่ค่อยตระหนักในการแก้ปัญหาไข้เลือดออก อ้างว่าไม่มีเวลา ต้องทำงาน คิดว่าเป็นหน้าที่ของ อสม. รพสต. และ อบต.ที่ต้องดูแลประชาชนไม่ให้เป็นไข้เลือดออก
แนวทางแก้ไข
1.การดำเนินการด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
2.จัดกิจกรรม Big Cleaning Day ในวันศุกร์ของทุกสัปดาห์ เพื่อดูแลบ้านเรือนให้สะอาด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำชุมชน และอสม.มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100ของแกนนำชุมชนและ อสม.มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
55.00 55.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50ต่อ 100000 ประชากร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
อสม.และผุ้นำชุมชน 55

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำชุมชน และอสม.มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมความพร้อมก่อนทำโครงการ (2) อบรมแกนนำชุมชนและ อสม. (3) ติดตามการสุ่มลูกน้ำยุงลายและสภาพแวดล้อมบริเวณบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านควน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5307-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนฤมล โต๊ะหลัง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด