กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2563 ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายจเรรัตน์ โต๊ะหวันหลง




ชื่อโครงการ โครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L7580-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2562 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันสถานการณ์ประชากรทั้งหมดของประเทศไทยปี 2560 ที่ผ่านมา พบว่ามีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 67.6 ล้านคน และมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 11.3 ล้านคน หรือ 16.7% ของจำนวนประชากรทั้งหมด วัยทำงานอายุ 15-59 ปี จำนวน 44.60 ล้านคน วัยเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 11.60 ล้านคน โดยวัย ผู้สูงอายุยังคงทำงานอยู่ราว 3.9 ล้านคน จากการคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี 2564 จะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วนสูงถึง 20% และในปี 2574 ประเทศไทยจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง 28% ทั้งในปัจจุบันสัดส่วนวัยทำงานดังกล่าวยังสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ 1 ต่อ 4 คน แต่ในปี 2574 สัดส่วนการดูแลผู้สูงอายุจะเฉลี่ยที่ 1 : 1 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) สำหรับปัญหาสุขภาพซึ่งเป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่งกับผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุอยู่ในสภาวะติดเตียง ร้อยละ 2 ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ร้อยละ 19 และยังพบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 41 เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 18 และเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ลดหลั่นลงมา ซึ่งโรคเหล่านี้หากไม่ได้รับการรักษาดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง จะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร โดยปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบ่งเป็น ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น อายุ เพศ และพันธุกรรม และปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้ เช่น การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย และการดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และนอกจากโรคเรื้อรังดังกล่าวยังพบอีกว่าผู้สูงอายุมีโรคข้อเข่าที่เกิดจากความเสื่อมของระบบการทำงานของร่างกาย โดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อและการไหลเวียนเลือด ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ และจะมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไปรวมถึงปัญหาสุขภาพช่องปากและฟันที่ส่งผลให้เกิดฟันผุ/รากทับฟันผุ โรคปริทันต์ นำไปสู่การเป็นมะเร็งช่องปากได้ ซึ่งหากผู้สูงอายุไม่รักษาสุขภาพช่องปากให้ดีถ้าหากสูญเสียฟันไปแล้ว จะส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมากอีกทั้งยังส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวันด้านบุคลิกภาพ การเข้าสังคม การพูดคุย การบดเคี้ยวอาหาร และการรับรส เป็นต้น สถานการณ์เหล่านี้ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ซึ่งพบผู้สูงอายุผู้หญิงเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ใน 5 อันดับแรกของการสูญเสียปีสุขภาวะ รองจากโรคเรื้อรัง ซึ่งสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ คือ ความวิตกกังวล ซึมเศร้านอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่อม ปัญหาเรื่องเพศ นอกจากนี้การสำรวจสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติด้วยแบบคัดกรองความสุข 15 ข้อ พบว่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคนทั่วไปโดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มีความเปราะบางทางจิตใจ และมีสาเหตุมาจากโรคเรื้อรัง ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตัวเองลดลง       เขตเทศบาลตำบลฉลุง เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบกับปัญหาดังกล่าวข้างต้นเช่นเดียวกัน ผลจากการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขพบว่า ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่มีจำนวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 ของประชากรทั้งหมด 2,355 คน เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีภาวะเสี่ยง จำนวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 82 เจ็บป่วยด้วยโรคข้อเท้า จำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 70.83 อาจส่งผลให้ผู้สูงอายุดังกล่าวขาดความมั่นใจความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน
      ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นถึงผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค ประจำปี 2563 ขึ้น โดยใช้กลยุทธ์หลักการ จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว สร้างความสุขให้ผู้สูงอายุ ประกอบกระบวนการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน มีภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันโรคต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันสถานการณ์ประชากรทั้งหมดของประเทศไทยปี 2560 ที่ผ่านมา พบว่ามีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 67.6 ล้านคน และมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 11.3 ล้านคน หรือ 16.7% ของจำนวนประชากรทั้งหมด วัยทำงานอายุ 15-59 ปี จำนวน 44.60 ล้านคน วัยเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 11.60 ล้านคน โดยวัย ผู้สูงอายุยังคงทำงานอยู่ราว 3.9 ล้านคน จากการคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี 2564 จะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วนสูงถึง 20% และในปี 2574 ประเทศไทยจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง 28% ทั้งในปัจจุบันสัดส่วนวัยทำงานดังกล่าวยังสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ 1 ต่อ 4 คน แต่ในปี 2574 สัดส่วนการดูแลผู้สูงอายุจะเฉลี่ยที่ 1 : 1 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) สำหรับปัญหาสุขภาพซึ่งเป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่งกับผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุอยู่ในสภาวะติดเตียง ร้อยละ 2 ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ร้อยละ 19 และยังพบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 41 เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 18 และเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ลดหลั่นลงมา ซึ่งโรคเหล่านี้หากไม่ได้รับการรักษาดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง จะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร โดยปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบ่งเป็น ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น อายุ เพศ และพันธุกรรม และปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้ เช่น การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย และการดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และนอกจากโรคเรื้อรังดังกล่าวยังพบอีกว่าผู้สูงอายุมีโรคข้อเข่าที่เกิดจากความเสื่อมของระบบการทำงานของร่างกาย โดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อและการไหลเวียนเลือด ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ และจะมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไปรวมถึงปัญหาสุขภาพช่องปากและฟันที่ส่งผลให้เกิดฟันผุ/รากทับฟันผุ โรคปริทันต์ นำไปสู่การเป็นมะเร็งช่องปากได้ ซึ่งหากผู้สูงอายุไม่รักษาสุขภาพช่องปากให้ดีถ้าหากสูญเสียฟันไปแล้ว จะส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมากอีกทั้งยังส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวันด้านบุคลิกภาพ การเข้าสังคม การพูดคุย การบดเคี้ยวอาหาร และการรับรส เป็นต้น สถานการณ์เหล่านี้ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ซึ่งพบผู้สูงอายุผู้หญิงเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ใน 5 อันดับแรกของการสูญเสียปีสุขภาวะ รองจากโรคเรื้อรัง ซึ่งสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ คือ ความวิตกกังวล ซึมเศร้านอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่อม ปัญหาเรื่องเพศ นอกจากนี้การสำรวจสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติด้วยแบบคัดกรองความสุข 15 ข้อ พบว่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคนทั่วไปโดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มีความเปราะบางทางจิตใจ และมีสาเหตุมาจากโรคเรื้อรัง ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตัวเองลดลง       เขตเทศบาลตำบลฉลุง เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบกับปัญหาดังกล่าวข้างต้นเช่นเดียวกัน ผลจากการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขพบว่า ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่มีจำนวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 ของประชากรทั้งหมด 2,355 คน เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีภาวะเสี่ยง จำนวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 82 เจ็บป่วยด้วยโรคข้อเท้า จำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 70.83 อาจส่งผลให้ผู้สูงอายุดังกล่าวขาดความมั่นใจความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน
      ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นถึงผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค ประจำปี 2563 ขึ้น โดยใช้กลยุทธ์หลักการ จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว สร้างความสุขให้ผู้สูงอายุ ประกอบกระบวนการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน มีภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
  4. .เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  2. 1.2กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ฝ่าเท้
  3. 1.3กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้มให้ผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 1
  5. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 2
  6. กิจกรรมบำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 3
  7. กิจกรรมบำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 4
  8. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 5
  9. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 6
  10. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 7
  11. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 8

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย
  3. ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
  4. ผู้สูงอายุมีสุขภาพข้อเท้า ข้อเข่า ดีขึ้นจากการได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ฝ่าเท้า ด้วยระบบวารีบำบัด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.1กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ซึ่งหลังจากที่วิทยากรได้ให้ความรู้แล้ววิทยากรก็ได้ให้ผู้เข้ารับการอบรมแบ่งกลุ่มกัน โดยมีคำถามที่เกี่ยวกับการอบรม ซึ่งวิทยากรได้ตั้งคำถามและให้แต่ละกลุ่มที่รู้คำตอบและคิดว่าถูกต้องที่สุดยกมือขึ้นเพื่อตอบคำถามที่วิทยากรถาม จากการสังเกตพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาดังกล่าวเป็นอย่างดีและสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง โดยอธิบายถึงทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 และทำให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ตนเองได้รับไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง โดยการตรวจฟันของตนเอง เพื่อเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากฟันผุได้

 

60 0

2. 1.3กิจกรรมนันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้มให้ผู้สูงอายุ)

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นันทนาการ บริหารจิต (สร้างความสุขและรอยยิ้มให้ผู้สูงอายุ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม โดยทางผู้จัดได้ใช้กิจกรรมเล่นเกมส์ ตอบคำถาม ฝึกทักษะการจดจำและใช้ไหวพริบ จากการสังเกตการทำกิจกรรมร่วมกันพบว่า ผู้สูงอายุมีความสุขในการเล่นเกมส์และมีความสนุกสนาน ยิ้มแย้มแจ่มใส สามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้องแม่นยำ และสามารถจดจำและใช้ไหวพริบในการเล่นเกมส์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งทำให้เห็นได้ชัดเจนว่าผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ร้อยละ 80

 

50 0

3. 1.2กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บ ฝ่าเท้า ป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ฝ่าเท้

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเท้า ข้อเข่า ฝ่าเท้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้มีความรู้และทักษะในการดูแลป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้
ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 7 10 16.67 8 10 16.67 8 10 16.67 9 15 25.00 9 15 25.00 10 35 58.33 10 25 41.66
รวม 60 100 รวม 60 100

    จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 7-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 41.66 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 คะแนน น้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 41.66 หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 58.33 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 คะแนน น้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 24.24 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 35 คน  คิดเป็นร้อยละ 58.33 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อละ 91.67 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33

 

60 0

4. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 1

วันที่ 7 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

วารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำลังดำเนินการจากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

5. กิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 2

วันที่ 14 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

6. กิจกรรมบำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 3

วันที่ 21 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 3

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

7. กิจกรรมบำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 4

วันที่ 28 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัดข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 4

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

8. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 5

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 5

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

9. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 6

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

10. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 7

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 7

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

11. กิจกรรมวารีบำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 8

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

บำบัด ข้อเท้า ข้อเข่า  โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) ครั้งที่ 8

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการจัดทำโครงการดังกล่าว ได้กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน60 คน คิดเป็นร้อยละ 100
1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน โดยวิทยากรได้ให้ความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1)โรคฟันผุ (Dental caries) คือการที่ฟันถูกทำลาย ทำให้เป็นรูหรือโพรง การทำลายนี้จะเป็นไปเรื่อย ๆ โดยร่างกายไม่สามารถซ่อมแซมฟันส่วนที่ทำลายไปให้กลับเป็นปกติเหมือนเดิมได้
ฟันผุแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ -ฟันผุระยะที่ 1 มีลักษณะเป็นสีขาวขุ่น แนวทางการรักษา แปรงฟันให้สะอาดและถูกวิธี ใช้ฟลูออไรด์เสริม
-ฟันผุระยะที่ 2 มีลักษณะเป็นรอยดำ และมีรู บางครั้งอาจมีอาการเสียวฟัน แนวทางการรักษา อุดฟัน ครอบฟัน -ฟันผุระยะที่ 3 มีลักษณะเป็นรูกว้างลึก มีอาการปวดเวลาดื่มน้ำร้อน-น้ำเย็น แนวทางการรักษา รักษาคลองรากฟัน ถอนฟัน ใส่ฟันปลอมทดแทน 2)โรคเหงือกอักเสบ เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการอักเสบติดเชื้อของเหงือก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อกระดูก และเนื้อเยื่อปริทันต์รอบๆที่ช่วยพยุงฟัน โรคเหงือกนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เกิดจากคราบพลัค (แผ่นคราบจุลินทรีซึ่งมีลักษณะเหมือนแผ่นฟิล์มเหนียวไร้สีที่ค่อยๆเกาะรวมตัวกันบนผิวฟัน) ถ้าการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันตามปกติไม่สามารถขจัดคราบพลัคออกได้หมด คราบพลัคจะเริ่มก่อตัวขึ้น และสร้างเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการอักเสบของเหงือกและฟัน รวมถึงเนื้อเยื่อเหงือก และกระดูกที่ช่วยพยุงฟัน ซึ่งอาการเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการฟันโยก ฟันหลุด หรือถูกถอนฟันออกในที่สุด -แนวทางการรักษาได้ง่ายโดยการขูดหินน้ำลาย (ขูดหินปูน) ร่วมกับการพัฒนาวิธีการแปรงฟันและใช้อุปกรณ์เสริมที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการสะสมใหม่ของคราบจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรค โดยสำหรับคนส่วนใหญ่ควรได้รับการขูดหินน้ำลายทุกๆ 6-12 เดือน 3)โรคตามระบบ เป็นโรคที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเดิมที่เป็นอยู่และมีผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากและฟัน เช่น โรคเบาหวาน การทานยาบางชนิด เช่น ยาความดันโลหิต และการตั้งครรภ์
              -แนวทางการรักษา ขูดหินปูน แปรงฟันให้สะอาด ปรึกษาแพทย์ 4)ฟันสึก หรือฟันกร่อน เป็นอาการที่ส่วนของฟิวหน้าที่เคลือบฟันอยู่ด้านนอกหลุดลอกหายไป ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะฟัน เช่น ฟันลึกเป็นหลุม จนเศษอาหารเข้าไปติดได้ง่ายๆ ก่อให้เกิดอาการฟันผุได้หากไม่ดูแลความสะอาดให้ดีพอ หรือหากผิวเคลือบฟันสึกกร่อนมากขึ้นจนถึงเนื้อฟัน อาจทำให้เกิดอาการเสียวฟันขึ้นได้ โดยจะสร้างความเจ็บปวดแบบเสียวแปล๊บๆ เสียวจี๊ดๆ เมื่อทานอาหารเย็นจัด ร้อนจัด หรือเคี้ยวอาหารที่มีความเหนียวหรือแข็ง

-แนวทางการรักษา อุดฟัน ใช้แปรงสีฟันขนนุ่ม แปรงฟันเบาๆ การตรวจช่องปากด้วยตนเอง เป็นวิธีการเบื้องต้น ในการดูแลสุขภาพฟันและเหงือก สามารถปฏิบัติได้ง่าย และประหยัดเวลา โดยใช้อุปกรณ์เพียงกระจกเงาส่องหน้าธรรมดา อาจจะใช้กระจกเงาเล็กๆ อีกหนึ่งอัน ช่วยสะท้อนให้เห็นบริเวณที่มองเห็นตรงๆไม่ได้ การตรวจฟันควรทำหลังจากแปรงฟันเสร็จแล้ว การตรวจนี้จะทำให้เราเห็นว่า เราแปรงฟันได้สะอาดจริงหรือไม่ มีฟันที่เริ่มมีรอยดำ หรือเป็นจุดแล้วบ้างหรือไม่ หรือเหงือกบริเวณไหนมีการบวมแดงอักเสบเกิดขึ้น ซึ่งหากพบปัญหา จะได้รีบแก้ไข ก่อนที่จะมีอาการรุนแรง ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เวลา และไม่ทรมาน การตรวจฟันด้วยตนเอง ทำเพื่อ -ตรวจความสะอาดในช่องปาก หลังจากแปรงฟันแล้ว ว่ามีเศษอาหารติดตามตัวฟัน หรือซอกฟันหรือไม่ตรวจดูว่า สุขภาพของเหงือก ในแต่ละบริเวณเป็นอย่างไร มีหินปูน มีเหงือกร่น หรือคอฟันสึกหรือไม่ -ตรวจดูว่า มีฟันผุ หรือมีสภาพที่อุดฟันเก่าผิดปกติหรือไม่ วิธีการตรวจ หลังแปรงฟัน ควรล้างมือให้สะอาดก่อนตรวจ แล้วลงมือตรวจตามขั้นตอนดังนี้ -ตรวจฟันหน้าบนและล่าง โดย ยิ้ม ยิงฟันกับกระจก ให้เห็นฟันหน้าบนทั้งหมด ทั้งตัวฟัน และเหงือกตรวจฟันกรามด้านติดแก้ม โดยยิ้มให้กว้างไปถึงฟันกราม อาจใช้นิ้วมือช่วยดึงมุมปาก เพื่อให้เห็นได้ชัดเจนขึ้น -ตรวจด้านในของฟันล่าง โดยก้มหน้าอ้าปากกว้าง กระดกลิ้นขึ้น เมื่อตรวจดูฟันกรามตรวจด้านบดเคี้ยวของฟันกรามล่าง โดยอ้าปากดูด้านบดเคี้ยวของฟันล้างตรวจฟันบนด้านเพดาน และด้านบดเคี้ยว เงยหน้า อ้าปากดูในกระจก ส่วนฟันหน้าด้านเพดาน อาจใช้กระจกบานเล็กช่วยสะท้อนให้เห็นในกระจกส่องหน้า ซึ่งหลังจากที่วิทยากรได้ให้ความรู้แล้ววิทยากรก็ได้ให้ผู้เข้ารับการอบรมแบ่งกลุ่มกัน โดยมีคำถามที่เกี่ยวกับการอบรม ซึ่งวิทยากรได้ตั้งคำถามและให้แต่ละกลุ่มที่รู้คำตอบและคิดว่าถูกต้องที่สุดยกมือขึ้นเพื่อตอบคำถามที่วิทยากรถาม จากการสังเกตพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาดังกล่าวเป็นอย่างดีและสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง โดยอธิบายถึงทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันได้อย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 และทำให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ตนเองได้รับไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง โดยการตรวจฟันของตนเอง เพื่อเป็นการป้องกันโรคที่เกิดจากฟันผุได้ -จึงสรุปได้ว่าสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1
1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า โดยวิทยากรได้ให้ความรู้และทักษะในการดูแลป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจาสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ โรคข้อเข่าเสื่อม หมายถึงโรคที่เกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ ซึ่งพบมากในวัยกลางคนและผู้สูงอายุ สาเหตุของโรคข้อเข่าเสื่อม
-เป็นภาวะที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของผิวกระดูกอ่อนตามวัย
-น้ำหนักตัวเกิน
-การใช้งาน ท่าทาง กิจกกรมที่มีแรงกดต่อข้อเข่ามาก -ความบกพร่องของส่วนประกอบของข้อ -ประสบอุบัติเหตุมีการบาดเจ็บที่ ข้อเอ็น -การบาดเจ็บเรื้อรังที่บริเวณข้อเข่า จากการทำงานหรือการเล่นกีฬา อาการของโรคข้อเข่าเสื่อม -เริ่มปวดเข่าเวลามีการเคลื่อนไหว เช่น เดิน ขึ้นลงบันได หรือนั่งพับเข่า -มีอาการข้อฝืดขัด -มีเสียงดังในข้อ การดูแลตนเองเพื่อถนอมข้อเข่า -การนั่ง ควรนั่งบนเก้าอี้ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆหรือนั่งราบบนพื้น -การนอน ควรนอนบนเตียงสูงระดับเข่า ไม่ควรนอนราบกับพื้น -การยืน ควรยืนตรงให้น้ำหนักตัวลงขาทั้งสองข้างเท่าๆกัน -การเดิน ควรเดินบนพื้นราบ ควรใส่รองเท้าแบบมีส้นเตี้ยหรือไม่มีส้นพื้นนุ่มกระชับพอเหมาะ -การใช้ห้องน้ำ ควรใช้ชักโครกหรือถ้าเป็นห้องส้วมนั่งยองควรใช้เก้าอี้นั่งมีรูตรงกลางหรืออุปกรณ์ 3 ขา มาวางคร่อมบนส้วมซึมแทน -ควบคุมน้ำหนักตัว ควรอยู่ในเกณฑ์สมส่วน 6 ท่าบริหารพิชิตข้อเข่าเสื่อม ท่าที่ 1 นั่งบนเก้าอี้ค่อยๆยกต้นขาขึ้นหนึ่งข้างแล้วผายขาออกไปแตะพื้นด้านข้างทำสลับกัน 10 ครั้ง ท่าที่ 2 เหยียดขาตรงมาด้านหน้าทั้ง 2 ข้าง เตะขาสลับข้างเท้าลอยพื้น เกร็งขา เพิ่มความยากด้วยการเตะสลับไล่ความสูงขึ้นเรื่อยๆ ท่าที่ 3 นั่งเก้าอี้ในท่าปกติ ยกต้นขาขึ้นตั้งฉาก 1 ข้างและเกร็งกล้ามเนื้อช่วงต้นขาหน้า ค่อยๆยืนหน้าแข็งให้ขนานพื้นค้างไว้ 1 วินาที และชักหน้าแข้งกลับที่เดิม ท่าที่ 4 ยืดขาให้สุด วางฝ่าเท้าให้ติดพื้นและค่อยๆลากเข้าหาลำตัวช้าๆ ท่าที่ 5 นั่งเก้าอี้เหยียดขาไปด้านหน้า 1 ข้าง กดเข่าให้ตึงวางฝ่าเท้าไว้กับพื้นกระดกปลายเท้า และวค่อยๆไล่มือลงไปตั้งแต่ต้นขา หัวเข่า หน้าแข้งและปลายเท้า ท่าที่ 6 ยืนจับเก้าอี้ ยกปลายเท้า 1 ข้างมาด้านหลังและจับปลายเท้าไว้ให้เข่ายืดทรง ไม่เอียงไปด้านข้าง การดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
-ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและตรวจเช็คค่าความดันโลหิตให้อยู่เกณฑ์ปกติ -ทำความสะอาดเท้าทุกวัน -สำรวจเท้าและเล็บเท้าอย่างละเอียดทุกวัน -หากมองไม่เห็นมองไม่ชัดให้ใช้กระจกส่องหรือญาติสำรวจให้ -ใช้ครีมหรือโลชั่นทาบางๆบริเวณฝ่าเท้า -แช่เท้าในน้ำอุ่นที่อุณหภูมิ 32-35 องศา -หากมีอาการเท้าเย็นเวลากลางคืนให้ใส่ถุงเท้า -ควรตัดเล็บอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง -หากมีหนังด้านเกิดขึ้นควรปรึกษาแพทย์ -ควรสวมถุงเท้าหรือถุงน่องที่ไม่แน่นเกินไปก่อนใส่รองเท้าเสมอ -ตรวจดูรองเท้าภายในและภายนอกทุกครั้งก่อนสวมใส่ -ควรเลือกใส่รองเท้าที่พอดีถูกสุขลักษณะและเหมาะสมกับรูปเท้า ท่าบริหารเท้ามี 4 ท่า ดังนี้ 1)กระดกเท้าขึ้นและลงสลับกันช้า 2)หมุนข้อเท้าโดยหมุนเข้าและหมุนออกช้าๆ 3)ใช้นิ้วเท้าจิกผ้าที่วางอยู่บนพื้น เพื่อบริหารกล้ามเนื้อเล็กๆในเท้า 4)นั่งยกขาขึ้น เหยียดเข่าตึงแล้วกระดกข้อเท้าขึ้น ค้างไว้นับ 1-6 ในใจถือเป็น 1 ครั้ง ข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับเท้ามี 9 ข้อ ดังนี้ 1)ห้ามสูบบุหรี่ 2)ควรหลีกเลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง 3)ห้ามสวมถุงเท้าหรือพันผ้ายืดรอบขาแน่นเกิน 4)ห้ามตัดเล็บลึกถึงจมูกเล็บ 5)ห้ามตัดหนังด้านด้วยตนเอง 6)ห้ามใช้สารเคมีใดๆ ลอกหนังด้านด้วยตนเอง 7)หลีกเลี่ยงการเดินเท้าเปล่าทั้งในบ้านและนอกบ้าน 8)ห้ามเดินเท้าเปล่าบนพื้นผิวที่ร้อน 9)ห้ามใส่รองเท้าแตะประเภทคีบระหว่างนิ้วเท้า วิธีเลือกซื้อรองเท้ามีด้วยกัน 9 วิธี ดังนี้ 1)ลักษณะรองเท้าที่เหมาะสม มีส่วนปิดป้องกันปลายเท้า 2)เลือกรูปทรงรองเท้าที่เหมาะสมกับรูปเท้า 3)ไม่มีมาตรฐานที่แน่นอนของขนาดรองเท้า 4)ลองสวมรองเท้าทั้งสองข้างเสมอ 5)ความยาวของรองเท้าที่เหมาะสม 6)ความกว้างของรองเท้าที่เหมาะสม 7)ส้นเท้าต้องอยู่พอดีกับส้นรองเท้า 8)ถ้าใส่วัสดุเสริมในรองเท้าต้องเปลี่ยนขนาดรองเท้าให้เหมาะสม 9)เท้าเปลี่ยนขนาดได้ตามเวลาและชนิดของกิจกรรม
จากการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้มีความรู้และทักษะในการดูแลป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้
ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 7 10 16.67 8 10 16.67 8 10 16.67 9 15 25.00 9 15 25.00 10 35 58.33 10 25 41.66
รวม 60 100 รวม 60 100

    จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 7-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 41.66 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 คะแนน น้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 41.66 หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายทำคะแนนได้อยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 58.33 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 คะแนน น้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 24.24 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 10 คะแนน จำนวน 35 คน  คิดเป็นร้อยละ 58.33 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อละ 91.67 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 -จึงสรุปได้ว่าสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม โดยทางผู้จัดได้ใช้กิจกรรมเล่นเกมส์ ตอบคำถาม ฝึกทักษะการจดจำและใช้ไหวพริบ จากการสังเกตการทำกิจกรรมร่วมกันพบว่า ผู้สูงอายุมีความสุขในการเล่นเกมส์และมีความสนุกสนาน ยิ้มแย้มแจ่มใส สามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้องแม่นยำ และสามารถจดจำและใช้ไหวพริบในการเล่นเกมส์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งทำให้เห็นได้ชัดเจนว่าผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ร้อยละ 80 -จึงสรุปได้ว่าสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3
1.4 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
จากการทำกิจกรรมบำบัด ข้อเท้า ข่อเข่า โดยวิธีแช่น้ำเย็น (ลงสระ) (จำนวน 8 ครั้ง) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถลดอาการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก ข้อเท้า และข้อเข่า และสามารถฟื้นฟูให้หายจากอาการเจ็บป่วยด้วยระบบวารีบำบัดได้โดยวธีแช่น้ำเย็น (สระว่ายน้ำ) คิดเป็นร้อยละ 80 (สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 4) โดยมีเนื้อหาในการอบรม ดังนี้ ธาราบำบัด (Aquatic Therapy) คือการนำคุณสมบัติของน้ำมาใช้ในการบำบัดรักษาโรคหรืออาการผิดปกติต่างๆ โดยน้ำจะมีแรงลอยตัว ช่วนลดแรงกดดันข้อต่อ และการเคลื่อนไหวช้าๆในทิศทางต่างๆ น้ำจะเป็นเสมือนแรงพยุงช่วยให้เคลื่อนไหวได้ง่ายขึ้น ในขณะที่การเคลื่อนไหวในน้ำเร็วๆแรงๆนั้น ส่งผลให้น้ำกลายเป็นแรงต้านเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อนั้นเอง เมื่อเราประสบปัญหาปวดเข่า หรือได้รับบาดเจ็บทางเข่า เราก็ควรออกกำลังกายที่ไม่ใช้เข่า ซึ่งการออกกำลังกายภายในน้ำนอกจากจะมีการว่ายน้ำ การเดินหรือการวิ่งในน้ำ การเต้น Aerobic ในน้ำ ยังมีการออกกำลังกายชนิดหนึ่งที่กำลังเป็นที่สนใจในขณะนี้นั้นคือ ธาราบำบัด ซึ่งเหมาะสำหรับคนที่ ปวดเข่า หรือมีปัญหาทางเข่า -วันที่ 7 มกราคม 2563 เวลา 14.00-15.00 น. เป็นวันแรกของการลงสระทำข้อตกลงการใช้สระ อธิบายข้อดีของสระว่ายน้ำระบบเกลือ คือ อะไร ต่างจากระบบคลอรีนอย่างไร สระว่าน้ำระบบเกลือ เป็นสระว่ายน้ำที่คุมระบบน้ำให้สะอาดด้วยเกลือ โดยใช้เครื่องผลิตคลอรีนอัตโนมัติจากเกลือ ระบบนี้จะใช้เกลือธรรมชาติในการฆ่าเชื้อโรคแทนคลอรีน และไม่ทำให้เกิดการระคายเคืองกับผิวหนังอีกด้วย วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนลงสระ 2)ลงสระจะเน้นช่วงล่างลดอาการปวดเข่าปวดข้อ 3)กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว -วันที่ 14 มกราคม 2563 เวลา 14.00-15.00 น. วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนลงสระ 2)กิจกรรมลดความดันสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง 3)กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว -วันที่ 21 มกราคม 2563 เวลา 14.00-15.00 น. วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนลงสระ 2)กิจกรรมลดความดันสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง 3)กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว -วันที่ 28 มกราคม 2563 เวลา 14.00-15.00 น. วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนลงสระ 2)กิจกรรมลดความดันสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง 3)กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว -วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 14.00-15.00 น. วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อในสระ 2)เน้นช่วงล่างและการทรงตัวกิจกรรมลดความดันสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง 3)กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว -วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 14.00-15.00 น. วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อในสระ 2)เน้นช่วงล่างและช่วงบน 3)กิจกรรมลดความดันสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว -วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 14.00-15.00 น. วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อในสระ 2)เน้นช่วงล่างและช่วงบน(โดยใช้หลักสมาธิ) 3) กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว -วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 14.00-15.00 น. วิทยากรได้แจ้งให้ทราบถึงกิจกรรมท่าการออกกำลังกายของวันนี้มีดังต่อไปนี้ 1)การยืดเหยียดกล้ามเนื้อบนสระกิจกรรมลดความดันสูง น้ำตาลสูง ไขมันสูง 2)เน้นช่วงล่างและการทรงตัว 3) กิจกรรมเข้าจังหวะช้าๆจังหวะเร็วๆ 4)ฟิตเนต 5)คลายกล้ามเนื้อ 6)ขึ้นจากสระอาบน้ำล้างตัว

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และข้อเท้า ข้อเข่า ฝ่าเท้า มากขึ้น ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรมทางสังคม
80.00 80.00

 

4 .เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ด้วยระบบวารีบำบัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการบำบัดฟื้นฟูข้อเท้าและข้อเข่า ฝ่าเท้า ด้วยระบบวารีบำบัด
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันสถานการณ์ประชากรทั้งหมดของประเทศไทยปี 2560 ที่ผ่านมา พบว่ามีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 67.6 ล้านคน และมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 11.3 ล้านคน หรือ 16.7% ของจำนวนประชากรทั้งหมด วัยทำงานอายุ 15-59 ปี จำนวน 44.60 ล้านคน วัยเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 11.60 ล้านคน โดยวัย ผู้สูงอายุยังคงทำงานอยู่ราว 3.9 ล้านคน จากการคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี 2564 จะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วนสูงถึง 20% และในปี 2574 ประเทศไทยจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปสูงถึง 28% ทั้งในปัจจุบันสัดส่วนวัยทำงานดังกล่าวยังสามารถดูแลผู้สูงอายุได้ 1 ต่อ 4 คน แต่ในปี 2574 สัดส่วนการดูแลผู้สูงอายุจะเฉลี่ยที่ 1 : 1 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) สำหรับปัญหาสุขภาพซึ่งเป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่งกับผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุอยู่ในสภาวะติดเตียง ร้อยละ 2 ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ร้อยละ 19 และยังพบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 41 เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 18 และเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ลดหลั่นลงมา ซึ่งโรคเหล่านี้หากไม่ได้รับการรักษาดูแลอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง จะก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร โดยปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบ่งเป็น ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น อายุ เพศ และพันธุกรรม และปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้ เช่น การสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การขาดการออกกำลังกาย และการดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ และนอกจากโรคเรื้อรังดังกล่าวยังพบอีกว่าผู้สูงอายุมีโรคข้อเข่าที่เกิดจากความเสื่อมของระบบการทำงานของร่างกาย โดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อและการไหลเวียนเลือด ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ และจะมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไปรวมถึงปัญหาสุขภาพช่องปากและฟันที่ส่งผลให้เกิดฟันผุ/รากทับฟันผุ โรคปริทันต์ นำไปสู่การเป็นมะเร็งช่องปากได้ ซึ่งหากผู้สูงอายุไม่รักษาสุขภาพช่องปากให้ดีถ้าหากสูญเสียฟันไปแล้ว จะส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมากอีกทั้งยังส่งผลต่อการดำรงชีวิตประจำวันด้านบุคลิกภาพ การเข้าสังคม การพูดคุย การบดเคี้ยวอาหาร และการรับรส เป็นต้น สถานการณ์เหล่านี้ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ ซึ่งพบผู้สูงอายุผู้หญิงเป็นโรคซึมเศร้าอยู่ใน 5 อันดับแรกของการสูญเสียปีสุขภาวะ รองจากโรคเรื้อรัง ซึ่งสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ คือ ความวิตกกังวล ซึมเศร้านอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่อม ปัญหาเรื่องเพศ นอกจากนี้การสำรวจสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติด้วยแบบคัดกรองความสุข 15 ข้อ พบว่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคนทั่วไปโดยประมาณ 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มีความเปราะบางทางจิตใจ และมีสาเหตุมาจากโรคเรื้อรัง ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตัวเองลดลง       เขตเทศบาลตำบลฉลุง เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบกับปัญหาดังกล่าวข้างต้นเช่นเดียวกัน ผลจากการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขพบว่า ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่มีจำนวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 ของประชากรทั้งหมด 2,355 คน เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและมีภาวะเสี่ยง จำนวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 82 เจ็บป่วยด้วยโรคข้อเท้า จำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 70.83 อาจส่งผลให้ผู้สูงอายุดังกล่าวขาดความมั่นใจความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน
      ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นถึงผลกระทบจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค ประจำปี 2563 ขึ้น โดยใช้กลยุทธ์หลักการ จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว สร้างความสุขให้ผู้สูงอายุ ประกอบกระบวนการให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่เตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในการดำรงชีวิตประจำวัน มีภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันโรคต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2563

รหัสโครงการ 63-L7580-01 ระยะเวลาโครงการ 26 ธันวาคม 2562 - 25 กุมภาพันธ์ 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ กาย จิต สัมพันธ์ สร้างพลังต้านภัยโรค เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L7580-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจเรรัตน์ โต๊ะหวันหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด