กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
เด็กหญิงมาริษา เส้งวั่น

ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-17 เลขที่ข้อตกลง 23/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3351-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดี่ยวอีกทั้งสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ส่งผลให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่นเยาวชนในครอบครัวขาดการดูแลเอาใจใส่ และชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์ และวัฒนธรรมข้ามชาติ และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ทีวี วิทยุโดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือ ที่มีแอฟริเกชั่นต่างๆ ที่เยาวชนมาสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ง่ายและรวดเร็ว อีกทั้งเป็นส่วนตัว คือ ยูทูบ ไลน์ เฟสบุ๊ค เป็นต้น หากนำเทคโนโลยีมาใช้ไม่ถูกต้องก็จะกลายเป็นสิ่งที่ทำลายความดีงามทางความคิด การกระทำ และทำให้สังคมแย่ลง โดยเฉพาะเยาวชนเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อยากรู้อยากลอง ชอบลอกเลียนแบบจากบุคคลต้นแบบที่ชื่นชอบ และจะเชื่อเพื่อนมากกว่าผู้ปกครอง ดังนั้นทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศ และรับข่าวสารเรื่องยาเสพติด เกิดการลอกเลียนแบบพฤติกรรมการเสพสารเสพติด ทำให้เกิดปัญหาครอบครัว สังคมตามมา ซึ่งทั้งหมดเกิดจากเยาวชนขาดความเข้าใจเรื่องดังกล่าว วุฒิภาวะทางด้านความคิด การตัดสินใจ และทักษะการปฏิเสธ ดังนั้นทุกภาคส่วนในสังคมควรตระหนักและช่วยกันเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่มีสุขภาพและสุขภาวะที่ดีทั้ง 4 ด้านได้แก่ ด้านร่างกายดี สังคมดี จิตใจหรืออารมณ์ดี และปัญญาดี ดังนั้นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ได้มีภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเองและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด โรคเอดส์ และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรเป็นสิ่งจำเป็น ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายมีเด็กและเยาวชนอายุ9-18 ปี ทั้งหมด 278 คน สำหรับปีงบประมาณ 2562 ในเขตรับผิดชอบยังไม่มีเด็กและเยาวชนที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และได้จัดกิจกรรมอบรมเด็กและเยาวชนหญิงเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพื่อเป็นแกนนำในชุมชนในปีงบประมาณ 2563 ชมรมทูบีนัมเบอร์วันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายต้องการสร้างเครือข่ายและเพิ่มจำนวนแกนนำให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านเพื่อเป็นที่ปรึกษาและแนะนำเพื่อนในทางที่ถูกต้องเหมาะสม ป้องกันการเด็กและเยาวชนไม่ให้ติดยาเสพติด และป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ดังนั้นชมรมทูบีนัมเบอร์วันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียนขี้น เพื่อให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับความรู้ เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร พัฒนาให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิด มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้เยาวชนได้คิดถึงปัญหาสุขภาพปัญหาทางเพศ ปัญหายาเสพติด การแก้ไขและการป้องกันปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในเบื้องต้นด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับความรู้ เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมความรู้เด็กและเยาวชนไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับความรู้ เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
  2. แกนนำเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้คำปรึกษาและแนะนำเพื่อนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมความรู้เด็กและเยาวชนไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน

วันที่ 29 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน  50  ราย -ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรม ทูบีนัมเบอร์วัน รพ.สต.บ้านโคกชะงาย ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติดและไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียนเพื่อให้วัยรุ่นได้เรียนรู้เรื่องยาเสพติดและการตั้งครรภ์ในวัยเรียนโดยให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิดมีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นฝึกให้เยาวชนได้คิดถึงปัญหาทางเพศการแก้ไขและป้องกันปัญหา             ลักษณะกิจกรรม : การบรรยายให้ความรู้ กิจกรรมกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
            ผลการดำเนินงาน เป้าหมายโครงการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันจากการตั้งครรภ์ในวัยเรียน การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เื่อเข้าสู่วันรุ่น และอันตรายจากยาเสพติด กลุ่มเป้าหมายคือ เด็กและเยาวชน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จำนวน 50 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับความรู้ เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 ในเรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
3.00 50.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับความรู้ เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมความรู้เด็กและเยาวชนไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่เอายาเสพติด และไม่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เด็กหญิงมาริษา เส้งวั่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด