กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2563

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิริรัตน์ แซ่จิ้ว

ชื่อโครงการ โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L7580-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 21 กุมภาพันธ์ 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

การจะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญได้นั้น ประชากรในประเทศต้องมีสุขภาพที่ดี มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจะสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญได้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพของประชากรก็คือ การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาทุกชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี และต้องปฏิบัติโดยสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง การออกกำลังกายแบบไท้เก๊กก็เป็นการออกกำลังกายประเภทหนึ่งที่มีผู้คนนิยมทั่วโลก เพราะเป็นการออกกำลังกายแบบยืดหยุ่นร่างกายทุกส่วนทั้งแขนและขา ท่าทางการเคลื่อนไหวเป็นท่าที่มีการยืดและหดกล้ามเนื้อส่วนต่างๆมีจังหวะที่ผสมผสานกลมกลืน มีลักษณะนุ่มนวล โอนอ่อนผ่อนคลาย การเคลื่อนไหวลื่นไหลต่อเนื่อง การหายใจสอดประสานไปกับการเคลื่อนไหว พร้อมต้องตั้งจิตติดตามการเคลื่อนไหวของร่างกายไปตลอด ทำให้เกิดสมาธิ เนื่องจากไม่มีการเกร็งกล้ามเนื้อ หรือการออกแรงกระแทก จึงมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บร่างกายได้น้อย เมื่อเทียบกับกีฬาที่ใช้แรงชนิดอื่นๆทำให้เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย แม้แก่ชรา อายุ 90-100 กว่าปีก็ยังฝึกฝนได้ ประโยชน์ที่ได้รับนอกจากสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว การเกิดสมาธิเป็นการจัดการด้านอารมณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากกลยุทธ์ 3 อ.(อารมณ์,อาหาร,ออกกำลังกาย) อ.อารมณ์มีความสำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อทุกๆ อ. หากบริหารจัดการอารมณ์ได้แล้วสภาวะสุขภาพก็จะดีตามไปด้วย และยังเพิ่มอัตราการไหลเวียนโลหิตทั้งร่างกาย ปอด หัวใจแข็งแรง และช่วยให้เกิดการเผาผลาญพลังงานส่วนเกินในร่างกาย เทศบาลตำบลฉลุง ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายแบบไท้เก๊กจึงได้ส่งเสริมให้ประชาชนรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นชมรม และมีการออกกำลังกายแบบไท้เก๊กขึ้น ในวันจันทร์-ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 05.00-06.00 น. ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาเทศบาลตำบลฉลุง มาเป็นระยะเวลา 14 ปี ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม จำนวน 55 คน สมาชิกชมรมมีทั้งคนในเขตเทศบาลตำบลฉลุงและพื้นที่ใกล้เคียง จากการดำเนินงานของชมรม พบว่า สมาชิกชมรมส่วนใหญ่มาออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และจากการสำรวจข้อมูลสมาชิกชมรม มีสมาชิกป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 20 คน โรคความดันเบาหวาน จำนวน 6 คน โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด จำนวน 3 คน และไม่พบผู้ป่วยเป็นโรคเส้นเลือดสมองแตก/ตีบ และพบว่า ถึงแม้สมาชิกส่วนใหญ่จะมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ แต่ด้วยศาสตร์การออกกำลังกายแบบไท้เก๊กจะต้องมีใช้ทักษะสูงในด้านการใช้ปราณ การฝึกหายใจ การเคลื่อนไหว อย่างมีสมาธิ สมาชิกบางคนยังไม่มีทักษะเท่าที่ควร อีกทั้งพฤติกรรมในการดำรงชีวิตประจำวันของสมาชิก เช่น พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การนอน การจัดการอารมณ์ และสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัย ไม่เหมาะกับสุขภาพของ ช่วงวัย และโรคที่เป็น ส่งผลให้การออกกำลังกาย ไม่สามารถควบคุมโรคที่เป็นให้อยู่ในระดับปกติได้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ จึงจำเป็นต้องส่งเสริม สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พร้อมๆกับการออกกำลังกายอย่างจริงจัง จึงจะส่งผลต่อร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะมีความรู้นำไปซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลให้สมาชิกมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง และสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขได้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     การจะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญได้นั้น ประชากรในประเทศต้องมีสุขภาพที่ดี มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจะสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญได้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพของประชากรก็คือ การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาทุกชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี และต้องปฏิบัติโดยสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง การออกกำลังกายแบบไท้เก๊กก็เป็นการออกกำลังกายประเภทหนึ่งที่มีผู้คนนิยมทั่วโลก เพราะเป็นการออกกำลังกายแบบยืดหยุ่นร่างกายทุกส่วนทั้งแขนและขา ท่าทางการเคลื่อนไหวเป็นท่าที่มีการยืดและหดกล้ามเนื้อส่วนต่างๆมีจังหวะที่ผสมผสานกลมกลืน มีลักษณะนุ่มนวล โอนอ่อนผ่อนคลาย การเคลื่อนไหวลื่นไหลต่อเนื่อง การหายใจสอดประสานไปกับการเคลื่อนไหว พร้อมต้องตั้งจิตติดตามการเคลื่อนไหวของร่างกายไปตลอด ทำให้เกิดสมาธิ เนื่องจากไม่มีการเกร็งกล้ามเนื้อ หรือการออกแรงกระแทก จึงมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บร่างกายได้น้อย เมื่อเทียบกับกีฬาที่ใช้แรงชนิดอื่นๆทำให้เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย แม้แก่ชรา อายุ 90-100 กว่าปีก็ยังฝึกฝนได้ ประโยชน์ที่ได้รับนอกจากสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว การเกิดสมาธิเป็นการจัดการด้านอารมณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากกลยุทธ์ 3 อ.(อารมณ์,อาหาร,ออกกำลังกาย) อ.อารมณ์มีความสำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อทุกๆ อ. หากบริหารจัดการอารมณ์ได้แล้วสภาวะสุขภาพก็จะดีตามไปด้วย และยังเพิ่มอัตราการไหลเวียนโลหิตทั้งร่างกาย ปอด หัวใจแข็งแรง และช่วยให้เกิดการเผาผลาญพลังงานส่วนเกินในร่างกาย เทศบาลตำบลฉลุง ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายแบบไท้เก๊กจึงได้ส่งเสริมให้ประชาชนรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นชมรม และมีการออกกำลังกายแบบไท้เก๊กขึ้น ในวันจันทร์-ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 05.00-06.00 น. ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาเทศบาลตำบลฉลุง มาเป็นระยะเวลา 14 ปี ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม จำนวน 55 คน สมาชิกชมรมมีทั้งคนในเขตเทศบาลตำบลฉลุงและพื้นที่ใกล้เคียง จากการดำเนินงานของชมรม พบว่า สมาชิกชมรมส่วนใหญ่มาออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และจากการสำรวจข้อมูลสมาชิกชมรม มีสมาชิกป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 20 คน โรคความดันเบาหวาน จำนวน 6 คน โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด จำนวน 3 คน และไม่พบผู้ป่วยเป็นโรคเส้นเลือดสมองแตก/ตีบ และพบว่า ถึงแม้สมาชิกส่วนใหญ่จะมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ แต่ด้วยศาสตร์การออกกำลังกายแบบไท้เก๊กจะต้องมีใช้ทักษะสูงในด้านการใช้ปราณ การฝึกหายใจ การเคลื่อนไหว อย่างมีสมาธิ สมาชิกบางคนยังไม่มีทักษะเท่าที่ควร อีกทั้งพฤติกรรมในการดำรงชีวิตประจำวันของสมาชิก เช่น พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การนอน การจัดการอารมณ์ และสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัย ไม่เหมาะกับสุขภาพของ ช่วงวัย และโรคที่เป็น ส่งผลให้การออกกำลังกาย ไม่สามารถควบคุมโรคที่เป็นให้อยู่ในระดับปกติได้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ จึงจำเป็นต้องส่งเสริม สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พร้อมๆกับการออกกำลังกายอย่างจริงจัง จึงจะส่งผลต่อร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะมีความรู้นำไปซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลให้สมาชิกมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง และสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อเพิ่มศักยภาพสมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม นำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดัน/เบาหวาน)/พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหาร/พลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค สาธิตเมนูสุขภาพ
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น
  4. กิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม
  5. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการอารมณ์ของตนเอง
  6. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น
  7. กิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม
  8. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม/พฤติกรรมการนอน
  9. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมกับโรคกับวัยและถูกสุขลักษณะ
  10. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ   1. สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
  2.สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรมมีทักษะ ไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ได้อย่างถูกต้อง
  3.สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง ที่เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดัน/เบาหวาน)/พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดัน/เบาหวาน)/พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นอย่างดี และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มี รสหวานจัด เค็มจัดได้อย่างถูกต้อง

 

40 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหาร/พลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค สาธิตเมนูสุขภาพ

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหาร/พลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค สาธิตเมนูสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องและสามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมแก่วัยของตนเองได้อย่างถูกต้อง

 

40 0

3. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

 

40 0

4. กิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

นันทนาการเตรียมความพร้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความสุข สนุนสนานในกิจกรรมนันทนาการ สามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้เป็นอย่างดี

 

40 0

5. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการอารมณ์ของตนเอง

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการอารมณ์ของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปบริหารจัดการอารมณ์ของตนเองได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี

 

40 0

6. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

 

40 0

7. กิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

นันทนาการเตรียมความพร้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความสุข สนุนสนานในกิจกรรมนันทนาการ สามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้เป็นอย่างดี

 

40 0

8. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม/พฤติกรรมการนอน

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม/พฤติกรรมการนอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดสภาพแวดล้อมบริเวณรอบๆให้เหมาะสมและ ปรับเปลี่ยนพฤติกกรรมการนอนของตนเองได้อย่างเหมาะสม

 

40 0

9. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมกับโรคกับวัยและถูกสุขลักษณะ

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมกับโรคกับวัยและถูกสุขลักษณะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมแก่วับผู้สูงอายุ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพื้นที่ในบ้านของตนเองได้อย่างเหมาะสม

 

40 0

10. อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบายวิธีสู่ความสงบเย็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 40 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1. เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 7 18 45 8 8 20 8 12 30 9 20 50 9 4 10 10 12 30 10 6 15
รวม 40  100 รวม 40 100
จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 15 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 8 คะแนน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 45 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 50 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 70 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30 1.2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพสมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น อย่างถูกต้อง จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง
1.3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม นำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง จากการประเมินตนเองในเรื่องพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย และอารมณ์ มีจำนวนคำถามทั้งหมด 20 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 คน ได้คะแนน ดังนี้

พฤติกรรมที่ปฏิบัติ ความถี่การปฏิบัติ ประจำ (จำนวนคน) ครั้งคราว(จำนวนคน) ไม่เคยเลย(จำนวนคน) 1. กินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) 40 0 0 2. กินอาหารหลากหลาย ไม่ซ้ำซาก 30 10 0 3. กินผักมากกว่าวันละ 3 ทัพพี 32 8 0 4. กินผลไม้วันละ 2-3 ส่วน (หนึ่งส่วนเท่ากับ 6-8 คำ) 27 8 5 5. กินปลา อย่างน้อยวันละ 1 มื้อ 20 18 2 6. กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน สัปดาห์ละ 2-3 มื้อ 10 20 10 7. ดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว 10 22 8 8. กินอาหารมื้อเย็นห่างจากเวลานอนไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง 27 10 3 9. กินอาหารประเภทต้ม นึ่ง ลวก อบ 22 16 2 10. หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง 40 0 0 11. หลีกเลี่ยงของหวาน และขนมที่มีแป้งและน้ำตาลมาก 37 3 0 12. กินอาหารรสจืด ไม่เติมน้ำปลาหรือเกลือในอาหาร 38 2 0 13. เลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน 40 0 0 14. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 40 0 0 15. อารมณ์ดี ไม่เครียด 40 0 0 16. นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง 40 0 0 17. ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน 40 0 0 18. ออกกำลังวันละ 30 นาที 40 0 0 19. ขณะออกกำลังหายใจเร็วขึ้นกว่าปกติและเหงื่อซึม 35 5 0 20. ทุกครั้งวัดรอบเอวได้ไม่เกินเกณฑ์อ้วนลงพุง คือ เพศหญิงไม่เกิน 80 ซม. และเพศชายไม่เกิน 90 ซม. 10 15 15

จากตารางการประเมินตนเอง พบว่า กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นประจำทุกคน คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง การเลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อารมณ์ดี ไม่เครียด นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน และออกกำลังวันละ 30 นาที ปฏิบัติเป็นประจำรองลงมา จำนวน 38 คน คือ กินอาหารรสจืด ไม่เติมน้ำปลาหรือเกลือในอาหาร และปฏิบัติเป็นประจำน้อยที่สุด จำนวน 10 คน คือ กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน สัปดาห์ละ 2-3 มื้อ พฤติกรรมการดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว และทุกครั้งวัดรอบเอวได้ไม่เกินเกณฑ์อ้วนลงพุง คือเพศหญิงไม่เกิน 80 ซม. และเพศชายไม่เกิน 90 ซม. กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นครั้งคราวมากที่สุด จำนวน 22 คน คือ พฤติกรรมดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นครั้งคราวรองลงมา จำนวน 20 คน คือ พฤติกรรมกินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน สัปดาห์ละ 2-3 มื้อและไม่มีการปฏิบัติเป็นครั้งคราวเลย คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง การเลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อารมณ์ดี ไม่เครียด นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน และออกกำลังวันละ 30 นาที กลุ่มเป้าหมายไม่เคยปฏิบัติเลยมากที่สุด จำนวน 10 คน คือ กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน สัปดาห์ละ 2-3 มื้อ ไม่เคยปฏิบัติเลยรองลงมา จำนวน 8 คน คือ ดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว และไม่มีการไม่เคยปฏิบัติเลย คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) กินอาหารหลากหลาย ไม่ซ้ำซาก กินผักมากกว่าวันละ 3 ทัพพี หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง หลีกเลี่ยงของหวาน และขนมที่มีแป้งและน้ำตาลมาก กินอาหารรสจืด ไม่เติมน้ำปลาหรือเกลือในอาหาร การเลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อารมณ์ดี ไม่เครียด นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน และออกกำลังวันละ 30 นาที และขณะออกกำลังหายใจเร็วขึ้นกว่าปกติและเหงื่อซึม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง มีความรู้ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80 -ประเมินโดยใช้แบบประเมินความรู้
80.00

 

2 เพื่อเพิ่มศักยภาพสมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม ให้มีทักษะ ไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะ ไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น อย่างถูกต้องร้อยละ 80 -ประเมินจากการสังเกต
80.00

 

3 เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุงที่เข้ารับการอบรม นำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง นำความรู้ ทักษะ ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80 -ประเมินจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

การจะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญได้นั้น ประชากรในประเทศต้องมีสุขภาพที่ดี มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจะสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญได้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพของประชากรก็คือ การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาทุกชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี และต้องปฏิบัติโดยสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง การออกกำลังกายแบบไท้เก๊กก็เป็นการออกกำลังกายประเภทหนึ่งที่มีผู้คนนิยมทั่วโลก เพราะเป็นการออกกำลังกายแบบยืดหยุ่นร่างกายทุกส่วนทั้งแขนและขา ท่าทางการเคลื่อนไหวเป็นท่าที่มีการยืดและหดกล้ามเนื้อส่วนต่างๆมีจังหวะที่ผสมผสานกลมกลืน มีลักษณะนุ่มนวล โอนอ่อนผ่อนคลาย การเคลื่อนไหวลื่นไหลต่อเนื่อง การหายใจสอดประสานไปกับการเคลื่อนไหว พร้อมต้องตั้งจิตติดตามการเคลื่อนไหวของร่างกายไปตลอด ทำให้เกิดสมาธิ เนื่องจากไม่มีการเกร็งกล้ามเนื้อ หรือการออกแรงกระแทก จึงมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บร่างกายได้น้อย เมื่อเทียบกับกีฬาที่ใช้แรงชนิดอื่นๆทำให้เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย แม้แก่ชรา อายุ 90-100 กว่าปีก็ยังฝึกฝนได้ ประโยชน์ที่ได้รับนอกจากสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว การเกิดสมาธิเป็นการจัดการด้านอารมณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดจากกลยุทธ์ 3 อ.(อารมณ์,อาหาร,ออกกำลังกาย) อ.อารมณ์มีความสำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อทุกๆ อ. หากบริหารจัดการอารมณ์ได้แล้วสภาวะสุขภาพก็จะดีตามไปด้วย และยังเพิ่มอัตราการไหลเวียนโลหิตทั้งร่างกาย ปอด หัวใจแข็งแรง และช่วยให้เกิดการเผาผลาญพลังงานส่วนเกินในร่างกาย เทศบาลตำบลฉลุง ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายแบบไท้เก๊กจึงได้ส่งเสริมให้ประชาชนรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นชมรม และมีการออกกำลังกายแบบไท้เก๊กขึ้น ในวันจันทร์-ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 05.00-06.00 น. ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาเทศบาลตำบลฉลุง มาเป็นระยะเวลา 14 ปี ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม จำนวน 55 คน สมาชิกชมรมมีทั้งคนในเขตเทศบาลตำบลฉลุงและพื้นที่ใกล้เคียง จากการดำเนินงานของชมรม พบว่า สมาชิกชมรมส่วนใหญ่มาออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และจากการสำรวจข้อมูลสมาชิกชมรม มีสมาชิกป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 20 คน โรคความดันเบาหวาน จำนวน 6 คน โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด จำนวน 3 คน และไม่พบผู้ป่วยเป็นโรคเส้นเลือดสมองแตก/ตีบ และพบว่า ถึงแม้สมาชิกส่วนใหญ่จะมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ แต่ด้วยศาสตร์การออกกำลังกายแบบไท้เก๊กจะต้องมีใช้ทักษะสูงในด้านการใช้ปราณ การฝึกหายใจ การเคลื่อนไหว อย่างมีสมาธิ สมาชิกบางคนยังไม่มีทักษะเท่าที่ควร อีกทั้งพฤติกรรมในการดำรงชีวิตประจำวันของสมาชิก เช่น พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การนอน การจัดการอารมณ์ และสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัย ไม่เหมาะกับสุขภาพของ ช่วงวัย และโรคที่เป็น ส่งผลให้การออกกำลังกาย ไม่สามารถควบคุมโรคที่เป็นให้อยู่ในระดับปกติได้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ จึงจำเป็นต้องส่งเสริม สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พร้อมๆกับการออกกำลังกายอย่างจริงจัง จึงจะส่งผลต่อร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง จึงได้จัดทำโครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปี 2563 ขึ้น เพื่อให้สมาชิกชมรมไท้เก๊ก เทศบาลตำบลฉลุง มีทักษะมีความรู้นำไปซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลให้สมาชิกมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง และสามารถใช้ชีวิตอย่างปกติสุขได้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2563

รหัสโครงการ 63-L7580-2-01 ระยะเวลาโครงการ 19 กุมภาพันธ์ 2563 - 21 กุมภาพันธ์ 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เทศบาลตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L7580-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศิริรัตน์ แซ่จิ้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด