กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง


“ โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางศัณสนีย์ มะยิ

ชื่อโครงการ โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-2513-1-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-2513-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก ต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear ในสตรีกลุ่มอายุ 30 ปีขึ้นไป ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดโรคและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ สำหรับโรคมะเร็งเต้านมในสตรีไทย พบว่าสตรีทุก 16 คนมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมได้1 คนแม้ว่ามะเร็งเต้านม ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายในอัตราที่สูง แต่ก็เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ และการพยากรณ์โรคค่อนข้างดี ถ้าสามารถตรวจพบและให้การรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่ง 80 เปอร์เซ็นต์ของมะเร็งเต้านม สามารถตรวจพบได้โดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านม ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำให้ปฏิบัติมากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ไม่ยุ่งยาก สามารถปฏิบัติได้ง่ายด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษใดๆช่วยในการตรวจ ประหยัดเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่าร้อยละ 60 ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มารับการรักษาเมื่อระยะของโรคลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองแล้ว ทั้งนี้เนื่องมาจากสตรีเหล่านี้ไม่เคยตรวจเต้านมด้วยตนเอง รวมทั้งการขาดความรู้ ความเชื่อมั่น ในการตรวจเต้านม

จากผลดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมกลุ่มอายุ 30 ปี ขึ้นไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเรียง มีกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 477 คนได้ดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยคิดเป็นผลงานสะสมตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ ถึงปี 2562 จำนวน 290 คน คิดเป็นร้อยละ 60.88 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามตัวชี้วัดที่กำหนด คือ สตรีอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๕ ปี/ครั้ง/คน จะต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐และผลการคัดกรองตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองในกลุ่มอายุ30-70 ปี จำนวน 672 คน ได้รับการตรวจเต้านมด้วยตนเองปี 2562 จำนวน 392 คน คิดเป็นร้อยละ 62.52 ไม่ผ่านเกณฑ์ตามตัวชี้วัดที่กำหนด คือ สตรีอายุ ๓๐ – 7๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80จากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา พบว่า จากการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม พบผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อ จำนวน 4 รายคิดเป็น ร้อยละ 1.02 ของผู้ที่ได้รับการคัดกรอง และพบเป็นโรคมะเร็งเต้านม 1 ราย และเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านมปี 60 จำนวน 1 ราย

ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลเรียง จึงได้จัดทำโครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทย คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ขึ้นเพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ในระยะเริ่มแรกและสร้างความตระหนักถึงปัญหาและเล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 1.2 เพื่อให้หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 1.3. เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการตายโดยสาเหตุจากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
  3. สตรีที่ตรวจพบโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้รับการรักษาที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 1.2 เพื่อให้หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 1.3. เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.1 เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 1.2 เพื่อให้หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 1.3. เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 1.2 เพื่อให้หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 1.3. เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเคาะประตูบ้านชักชวนหญิงไทยคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-2513-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศัณสนีย์ มะยิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด