กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา


“ โครงการตรวจประเมินคัดกรองภาวะไม่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุและส่งเสริมสุขภาพ ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางรุสนานี มามุ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจประเมินคัดกรองภาวะไม่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุและส่งเสริมสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4138-02-13 เลขที่ข้อตกลง 15/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจประเมินคัดกรองภาวะไม่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุและส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจประเมินคัดกรองภาวะไม่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุและส่งเสริมสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจประเมินคัดกรองภาวะไม่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุและส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4138-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มจากร้อยละ 10.7 ในปี 2550 (7.0 ล้านคน) เป็นร้อยละ 11.8 (75 ล้านคน) ในปี 2553 และร้อยละ 20.0 (14.5๕ ล้านคน) ในปี 2568 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2551) นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ 52.2 และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ร้อยละ 10.2 (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,2547) อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี2550 พบว่า ร้อยละ 67.3 ของประชากรในกลุ่มอายุ 60-69 ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น 83.3 ในกลุ่มที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป จากสถานการณ์ดังกล่าว อันทำให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้มเจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น สำหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะลา ปีงบประมาณ 2563 มีจำนวน 306 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม ร้อยละ 95.09 ติดบ้าน ร้อยละ 4.57 และติดเตียงร้อยละ 0.32
ดังนั้น การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จะเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี และที่สำคัญ คือการมุ่งลดความเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะลา ตำบลยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ซึ่งเป็นหน่วยงานบริการสุขภาพปฐมภูมิมีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 3 หมู่บ้าน  จำนวนหลังคาเรือน 702  ประชากรทั้งหมด 3,276 คน  ในจำนวนนี้อยู่ในวัยผู้สูงอายุจำนวน 306 คน  ที่เป็นวัยผู้สูงอายุมักจะเจ็บป่วยได้ง่ายเนื่องจากความเสื่อมตามสภาพร่างงกาย  โรคที่พบได้บ่อยได้แก่ โรคระบบกล้ามเนื้อโครงร่างและกระดูกซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรมและการเจ็บป่วย จากสภาวะข้อเสื่อมในผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพและสามารถดูแลตนเอง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง
  3. เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ในการดูแลด้านสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ รุ่นที่1
  2. กิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ รุ่นที่2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง
  3. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลต่อเนื่องจากผู้ดูแลและกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ รุ่นที่1

วันที่ 24 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ 1.1 อบรมให้ความรู้ โดยใช้แผ่นพับPower Pointและซีดี อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเรื่องการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเบาหวาน อัมพฤษ์อัมพาต การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองและการแก้ไขปัญหาสุขภาพตนเอง โดยจัด เป็น 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน รุ่นละ 1 วัน
    1.2กิจกรรมย่อย   1.2.1 ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณ BMI   1.2.2 ตรวจฟันผู้สูงอายุ   1.2.3 คัดกรองภาวะสมองเสื่อม   1.2.4 ตรวจตา   1.2.5 ประเมินข้อเข่า   1.2.6 ประเมินหกล้ม   1.2.7 ประเมิน ADL   1.2.8 ประเมินซึมเศร้า 1.3 กิจกรรมย่อยสรุปผลการตรวจคัดกรองในผู้สูงอายุและส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพเพื่อการรักษาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถนะร่างกายและจิตใจ ร้อยละ100 2.ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพใ้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่าจากบุคคลรอบข้าง ร้อยละ100 3.มีการตั้งชมรมจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุเพื่อสร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังได้มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุและช่วยกันดูแล

 

50 0

2. กิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ รุ่นที่2

วันที่ 25 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ 1.1 อบรมให้ความรู้ โดยใช้แผ่นพับPower Pointและซีดี อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเรื่องการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงเบาหวาน อัมพฤษ์อัมพาต การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพตนเองและการแก้ไขปัญหาสุขภาพตนเอง โดยจัด เป็น 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน รุ่นละ 1 วัน
    1.2กิจกรรมย่อย   1.2.1 ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณ BMI   1.2.2 ตรวจฟันผู้สูงอายุ   1.2.3 คัดกรองภาวะสมองเสื่อม   1.2.4 ตรวจตา   1.2.5 ประเมินข้อเข่า   1.2.6 ประเมินหกล้ม   1.2.7 ประเมิน ADL   1.2.8 ประเมินซึมเศร้า 1.3 กิจกรรมย่อยสรุปผลการตรวจคัดกรองในผู้สูงอายุและส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพเพื่อการรักษาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถนะร่างกายและจิตใจ ร้อยละ100 2.ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพใ้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่าจากบุคคลรอบข้าง ร้อยละ100 3.มีการตั้งชมรมจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุเพื่อสร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังได้มีทัศนคติที่ดีและเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุและช่วยกันดูแล

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพและสามารถดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุในพื้นที่ได้รับการตรวจประเมิน ADL และ Healthy Ageing
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุติดบ้านสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ เพิ่มคะแนนกิจวัตรประจำวัน(ADL)
0.00

 

3 เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ในการดูแลด้านสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มีแกนนำสุขภาพ บุคคลในครอบครัวและกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุระยะยาวและผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ในการดูแลอย่างต่อเนื่องในกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพและสามารถดูแลตนเอง (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง (3) เพื่อให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ในการดูแลด้านสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom  พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ รุ่นที่1 (2) กิจกรรมคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Genaitric Syndrom  พร้อมทั้งให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์แก่ผู้สูงอายุ รุ่นที่2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจประเมินคัดกรองภาวะไม่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุและส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4138-02-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรุสนานี มามุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด