กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ”

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8422-02-01 เลขที่ข้อตกลง 63-L8422-02-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8422-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง ทั้งนี้การบริโภคผักที่ปลอดสารพิษในปริมาณที่เหมาะสมเป็นประจำ จะช่วยทำให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดี ไม่เจ็บได้ง่าย ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถป้องกันทำให้ได้ผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค หากคนในชุมชนไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกัน และกำจัดศัตรูพืชลดต้นทุนทั้งนี้ผลผลิตของเกษตรกรในด้านค่าใช้จ่าย ต่างๆ เช่น มีค่าใช้จ่ายในซื้อสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่ลดลง และยังสามารถแจกจ่ายผัก ผลไม้ ให้แก่คนในชุมชนเพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนกลับมาดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในการบริโภคปลอดสารพิษ อีกทั้งปัจจุบันนี้ปัญหาของขยะอินทรีย์เป็นปัญหาที่สำคัญอีกปัญหาหนึ่งโดยปัญหาที่เกิดขึ้นมีผลมาจากหลายสาเหตุ ส่วนหนึ่งที่เกิดจากบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ซึ่งขยะในครัวเรือนจะเป็นขยะที่สามารถเน่าเสียได้ มีผลให้เกิดความเน่าเสียส่งกลิ่นเน่าเหม็น มีผลให้การจัดการขยะอื่นๆ มีความยุ่งยากมากขึ้นอีก และจากปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลให้รัฐบาลจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นงบประมาณในการจัดการขยะในแต่ละปีค่อนข้างสูง ดังนั้นแนวทางหนึ่งที่มีต้นทุนต่ำ และมีการจัดการที่ไม่ยุ่งยาก และไม่ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ต่อการจัดการขยะอื่นๆ คือ การจัดการกำจัดในแต่ละครัวเรือน ด้วยกระบวนการจัดการขยะเปียกในชุมชนโดยใช้บ่อก๊าซชีวภาพ สามารถนำมาใช้บำบัดของเสียอินทรีย์ที่ให้ก๊าซชีวภาพเป็นผลพลอยได้ และยังสามารได้รับประโยชน์ด้านสภาพแวดล้อม โดยการนำมูลสัตว์ ปัสสาวะ น้ำล้างคอกมาทิ้งลงในบ่อก๊าซชีวภาพ จะช่วยให้กลิ่นเหม็นและแมลงวันในบริเวณนั้นลดลง ผลจากการหมักมูลในบ่อเป็นเวลานานๆ ทำให้ไข่พยาธิหรือมูลสัตว์ถูกทำลายหรือตายด้วย ซึ่งเป็นการทำลายแหล่งเพาะเชื้อโรคบางชนิด เช่น โรคบิด อหิวาตกโรค และพยาธิที่แพร่กระจายจากมูลสัตว์ด้วยกัน นอกจากนี้ยังเป็นการป้องกันไม่ให้มูลสัตว์ถูกชะล้างลงไปในแหล่งน้ำธรรมชาติอีกด้วย ปัจจุบันตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง มีศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นแปลงสาธิต และเป็นพื้นที่ทำกินของชาวบ้านใช้ในการสร้างผลผลิตทางการเกษตร และเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
ดังนั้นกลุ่มเกษตรกรบ้านโคก ตำบลจวบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อแจกจ่ายให้กับคนในชุมชนเพื่อเป็นไปตามแนวทางของหลักเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถจัดการขยะเปียกในชุมชนโดยใช้บ่อก๊าซชีวภาพเพื่อลดการแพร่กระจ่ายเชื้อโรคจากสัตว์นำโรค สามารถนำร่องเป็นตัวอย่างของการสร้างต้นทุนพลังงานในชุมชนด้วยของเสียในชุมชนของตนเองได้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนโดยการบริโภคผักปลอดสารพิษ 2. เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโรคจากสัตว์นำโรคได้จัดการขยะอินทรีย์ 3. เป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์การจัดทำบ่อก๊าซชีวภาพ
  2. รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความตระหนักในการกำจัด ขัดแยกขยะเปียกในชุมชนได้มากขึ้น
  2. ประชาชนในตำบลจวบได้ความรู้ในการใช้บ่อก๊าซชีวภาพเพื่อลดการแพร่กระจ่ายของเชื้อโรคจากสัตว์นำโรคได้มากยิ่งขึ้น
  3. ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีภาวะสุขภาพที่ดี
  4. ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนโดยการบริโภคผักปลอดสารพิษ 2. เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโรคจากสัตว์นำโรคได้จัดการขยะอินทรีย์ 3. เป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนในชุมชนบริโภคผักปลอดสารพิษ 2. มีการจัดการขยะโดยบ่อชีวภาพ 3. เป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ให้ประชาชนได้ศึกษา และต่อยอด
50.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนโดยการบริโภคผักปลอดสารพิษ
2. เพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อโรคจากสัตว์นำโรคได้จัดการขยะอินทรีย์
3. เป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์การจัดทำบ่อก๊าซชีวภาพ (2) รณรงค์การปลูกผักปลอดสารพิษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8422-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเลาะ บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด