กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร


“ โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563 ”

ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาว จิราพัชร กิตติเวชวรกุล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1523-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1523-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,614.60 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญในทุกกลุ่มอายุ ไม่ว่าจะเป็น กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ที่จะต้องได้รับการดูแลและให้คำแนะนำตั้งแต่แรก เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตัวเองได้ เด็กก่อนวัยเรียน ในกลุ่มนี้จะมีการผุอย่างรวดเร็ว และเป็นกลุ่มที่เริ่มเข้าโรงเรียน ทำให้การรักษาและการดูแลเป็นไปได้ยาก เด็กวัยเรียน เป็นช่วงที่มีฟันชุดผสมคือ มีฟันแท้และฟันน้ำนม ในช่วงกลุ่มนี้จะแยกฟันแท้และฟันน้ำนมไม่ได้ ทำให้ละเลยการดูแลสุขภาพช่องปาก และกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นช่วงอายุสำคัญ เนื่องจากประชากรในกลุ่มนี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และยังสะท้อนภาพรวมที่เกิดจากพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดชีวิต จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ ๘ ในปี ๒๕๖๐ พบว่าเด็กก่อนวัยเรียนมีฟันผุระยะเริ่มต้น ร้อยละ 31.1 โดยผู้ปกครองของเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 44.1 ปล่อยให้เด็กแปรงฟันด้วยตนเอง และเมื่อเด็กโตขึ้นพบว่าในกลุ่มอายุ 5 ปี เด็กถูกปล่อยให้แปรงฟันเอง ถึงร้อยละ 80.4 เด็กวัยเรียน พบว่าความชุกของโรคฟันผุ ร้อยละ 52.0 โดย มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 1.4 ซี่/คน มีสภาวะเหงือกอักเสบสูงกว่าการสำรวจในครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555 จากร้อยละ 50.3 เป็นร้อยละ 66.3 ปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อสภาวะเหงือกอักเสบคือพฤติกรรมการแปรงฟัน พฤติกรรมการบริโภคที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ และกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่าผู้สูงอายุ 60-74 ปี ร้อยละ 56.1 มีฟันถาวรใช้งาน ได้อย่างน้อย 20 ซี่ เฉลี่ย 18.6 ซี่/คน ร้อยละ 40.2 มีฟันหลังสบกันอย่างน้อย 4 คู่สบ และลดลง ในผู้สูงอายุตอนปลายอายุ 80-85 ปี มีเพียงร้อยละ 22.4 ที่มีฟันถาวรใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ เฉลี่ย 10 ซี่/คน และมีฟันหลังสบกัน 4 คู่สบ เพียงร้อยละ 12.1 ทำให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวลดลงชัดเจน ซึ่งปัญหาสำคัญ ได้แก่ การสูญเสียฟัน โดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในผู้สูงอายุ 60-74 ปี พบร้อยละ 8.7 แต่เมื่ออายุ 80-85 ปี เพิ่มสูงถึงร้อยละ 31.0 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก
จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของจังหวัดตรัง พบว่าจังหวัดตรัง เด็กก่อนวันเรียนอายุ 3 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558-2560 ปราศจากฟันผุร้อยละ 51.2, 52.26, และ 55.6 ตามลำดับ เด็กอายุ 12 ปี มีประสบการณ์โรคฟันผุตั้งแต่ปี พ.ศ.2557-2559 ร้อยละ 47.8, 39.00 และ 40.6 ตามลำดับ และผู้สูงอายุ พบว่ามีฟันแท้ในช่องปากใช้งานได้ 20 ซี่ เฉลี่ยร้อยละ 43.9 ผู้สูงอายุที่มีฟันคู่สบฟันหลังใช้งานได้ 4 คู่ขึ้นไปร้อยละ 50.6 และผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของอำเภอสิเกา จังหวัดตรัง พบว่ากลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558-2560 ปราศจากฟันผุร้อยละ48.5, 50.93 และ 53.9 ตามลำดับ เด็กอายุ 12 ปี มีประสบการณ์โรคฟันผุตั้งแต่ปี พ.ศ.2557-2559 ร้อยละ 44.8, 39.79 และ 43.3ตามลำดับ และผู้สูงอายุมีฟันแท้ในช่องปากใช้งานได้ 20 ซี่ เฉลี่ยร้อยละ 38 ผู้สูงอายุที่มีฟันคู่สบฟันหลังใช้งานได้ 4 คู่ขึ้นไปร้อยละ 56 ดังนั้นทางกลุ่มงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชรและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง เห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาโรคฟันผุในหญิงตั้งครรภ์
เด็กก่อนวัยเรียน เด็กประถมศึกษา และผู้สูงอายุ จำเป็นต้องได้รับการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุต่อไปในอนาคต จึงได้จัดโครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย
“ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563 เพื่อให้ประชาชนในตำบลนาเมือเพชรมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง มีสุขภาพช่องปากที่ดี และยังลดปัญหาฟันผุ ซึ่งจะส่งผลดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริม ป้องกัน รักษาการเกิดโรคฟันผุในทุกกลุ่มวัย 2.เพื่อลดปัญหาสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
  2. อบรมให้ความรู้เด็กเล็ก ก่อนวัยเรียน แรกเกิด - 2 ปี
  3. อบรมให้ความรู้เด็กปฐมวัย 3-5 ปี
  4. อบรมให้ความรู้เด็กวัยเรียน
  5. อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 225
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 350
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
  1. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุและการเข้ารับการรักษา   2. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามความเหมาะสม   3. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์สามารถประเมินสุขภาพช่องปากของตนเองได้
2 เด็กก่อนวัยเรียน แรกเกิด - 2 ปี
  1. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุและการเข้ารับการรักษา   2. เด็กก่อนวัยเรียน แรกเกิด - 2 ปี รายใหม่ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามความเหมาะสม   3. เด็กก่อนวัยเรียน แรกเกิด - 2 ปี สามารถประเมินสุขภาพช่องปากของตนเองได้
3 เด็กก่อนวัยเรียน 3-5 ปี
  1. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุและการเข้ารับการรักษา
  2. เด็กก่อนวัยเรียน 3-5 ปี รายใหม่ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามความเหมาะสม   3. เด็กก่อนวัยเรียน 3-5 ปี สามารถประเมินสุขภาพช่องปากของตนเองได้
4 เด็กวัยเรียน
  1. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุและการเข้ารับการรักษา   2. เด็กวัยเรียนรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามความเหมาะสม   3. เด็กวัยเรียนสามารถประเมินสุขภาพช่องปากของตนเองได้
5 ผู้สูงอายุ
  1. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุและการเข้ารับการรักษา   2. ผู้สูงอายุจำนวนรายใหม่ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องตามความเหมาะสม   3. ผู้สูงอายุจำนวนสามารถประเมินสุขภาพช่องปากของตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เป็นไปตามแผนงานโครงการและวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้เกิดผลสัมฤทธิ์ คุ้มค่ากับการใช้จ่ายในการดําเนินโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริม ป้องกัน รักษาการเกิดโรคฟันผุในทุกกลุ่มวัย 2.เพื่อลดปัญหาสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : (1) ร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและรับบริการทางทันตกรรมตามความจำเป็น (2) ร้อยละ 90 พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กเล็กได้ฝึกทักษะการแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และการดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลาน (3) ร้อยละ 80 เด็กที่มีอายุ แรกเกิด - 5 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น (4) ร้อยละ 70 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการอุดฟันอย่างง่ายด้วยวิธี SMART Technique (5) ร้อยละ 100 เด็กวัยเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง (6) ร้อยละ 90 เด็กวัยเรียนได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันและได้รับบริการทางทันตกรรมตามความจำเป็น (7) ร้อยละ 70 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้น และรับบริการตามความจำเป็น
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1105 1075
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 225 225
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500 500
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 350 350
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริม ป้องกัน รักษาการเกิดโรคฟันผุในทุกกลุ่มวัย    2.เพื่อลดปัญหาสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (2) อบรมให้ความรู้เด็กเล็ก ก่อนวัยเรียน แรกเกิด - 2 ปี (3) อบรมให้ความรู้เด็กปฐมวัย 3-5 ปี (4) อบรมให้ความรู้เด็กวัยเรียน (5) อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563

รหัสโครงการ 63-L1523-1-09 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย “ยิ้มสดใส คนนาเมืองเพชรฟันดี” ประจำปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1523-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาว จิราพัชร กิตติเวชวรกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด