กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง


“ โครงการเครือข่ายห่วงใยใส่ใจแม่และเด็ก ปี 2560 ”

ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านโคกโตนด

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายห่วงใยใส่ใจแม่และเด็ก ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายห่วงใยใส่ใจแม่และเด็ก ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายห่วงใยใส่ใจแม่และเด็ก ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายห่วงใยใส่ใจแม่และเด็ก ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดปัตตานีเพราะในปัจจุบันความเป็นอยู่ของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตามลำดับตามแผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่ 9 รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมสุขภาพเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าซ่อมสุขภาพการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็กเป็นเป้าหมายสำคัญ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด คือ การเข้าถึงสถานบริการและการมีสุขภาพที่ดีของแม่และลูก ซึ่งมีตัวชี้วัดที่สำคัญ คือ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 90อัตราการคลอดในสถานบริการ ร้อยละ 92 ทารกแรกเกิดคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัมน้อยกว่าร้อยละ 7 และอัตราตายปริกำเนิด( ต่ำกว่า 7วัน ) ไม่เกิน 9 ต่อพันการเกิดมีชีพและเนื่องจากงานอนามัยแม่และเด็กเป็นจุดเริ่มต้นของการดูแลสุขภาพหากมีการพัฒนางานที่เป็นระบบ และมีเครือข่ายสร้างสุขภาพที่ดี มีประสิทธิภาพที่แท้จริง ก็จะเอื้ออำนวยต่อการพัฒนางานสาธารณสุขด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามมาเริ่มจากการที่เมื่อแม่รู้ว่าตั้งครรภ์ ต้องมาฝากครรภ์ทันทีก่อนอายุครรภ์ 12สัปดาห์ และได้รับการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงการตรวจทางห้องปฏิบัติการการฉีดวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และการรับบริการตรวจตามนัดสม่ำเสมอ กิจกรรมดังกล่าวข้างต้นเป็นสิ่งที่หญิงตั้งครรภ์ต้องรับรู้และต้องปฏิบัติเพื่อจะทำให้สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆในการตั้งครรภ์ลงได้ ส่งผลให้แม่และลูกคลอดอย่างปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดี สำหรับการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนดตำบลคอลอตันหยง ปีงบประมาณ 2557-2559มีผลการดำเนินงานตามรายละเอียดดังนี้ คือ หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์12 สัปดาห์ ร้อยละ 78.33,81.40 และ72.24 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 8.33,6.98 และ10.34 ดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 78.26,94.59 และ 83.33การคลอดกับผดุงครรภ์โบราณ ร้อยละ 8.33, 5.41 และ 0.00 มารดามีบุตรเมื่ออายุต่ำกว่า 20 ปีร้อยละ 17.39 , 8.11 และ 11.11 ทารกแรกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัมร้อยละ6.52 , 2.70 และ 0.00 อัตราคุมกำเนิด ร้อยละ 78.28,84.12 และ 77.32
จากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวพบว่าตัวชี้วัดเกือบทุกตัวที่เป็นปัญหาเริ่มมีแนวโน้มดีขึ้น คือ หญิงมีครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์หญิงมีครรภ์มีภาวะโลหิตจาง หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์การคลอดกับผดุงครรภ์โบราณ มารดามีบุตรเมื่ออายุต่ำกว่า 20 ปี อัตราทารกตายปริกำเนิดและอัตราการคุมกำเนิด ทั้งนี้งานอนามัยแม่และเด็กบางตัวชี้วัดที่กล่าวมาข้างต้นมีแนวโน้มที่จะมีปัญหาเกิดขึ้นได้ในปี2560ซึ่งมีสาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายประการทั้งด้านบุคลากรผู้ให้บริการ ระบบการให้บริการ ผู้รับบริการ คือหญิงตั้งครรภ์และปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่สำคัญ เช่น หญิงตั้งครรภ์ไปประกอบอาชีพนอกพื้นที่ การมีผดุงครรภ์โบราณที่เป็นคนในพื้นที่ปฏิบัติงานมาช้านานทำให้เป็นที่ยอมรับและไว้วางใจของประชาชนในพื้นที่ และเหตุการณ์สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความกลัวไม่กล้าที่จะไปคลอดที่โรงพยาบาลถ้าหากต้องคลอดในเวลากลางคืน และมีหญิงแต่งงานคู่ใหม่อายุน้อยมากขึ้น หญิงตั้งครรภ์ขาดความรู้ในการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กและการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก ด้วยสาเหตุปัจจัยดังกล่าวทำให้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนด ได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กให้บรรลุตามเกณฑ์ตัวชี้วัด และส่งผลให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนดมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีความรู้เกิดความตระหนักด้านสร้างสุขภาพและมีการพัฒนาศักยภาพ สามารถนำความรู้ไปพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์ฝากครรภ์ครบ5 ครั้งตามเกณฑ์ และมีทัศนะคติที่ดีต่อการคลอดที่โรงพยาบาล
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กที่ถูกต้อง และการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
  4. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหางานอนามัย-แม่และเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 65
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดทั้งหมด 2.ชุมชนรับรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดทั้งหมด 2.ชุมชนรับรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีความรู้เกิดความตระหนักด้านสร้างสุขภาพและมีการพัฒนาศักยภาพ สามารถนำความรู้ไปพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ต้องฝากครรภ์ก่อนอายุ12สัปดาห์ร้อยละ 60 2. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มีภาวะโลหิตจาง น้อยกว่า ร้อยละ 10 3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์ฝากครรภ์ครบ5 ครั้งตามเกณฑ์ และมีทัศนะคติที่ดีต่อการคลอดที่โรงพยาบาล
    ตัวชี้วัด : 4. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่า ร้อยละ90 5. มารดามีบุตรเมื่ออายุต่ำกว่า 20 ปีน้อยกว่า ร้อยละ 10 6. มารดาคลอดในสถานบริการร้อยละ92

     

    3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กที่ถูกต้อง และการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
    ตัวชี้วัด : 7. หญิงตั้งครรภ์คลอดกับ ผดุงครรภ์โบราณ น้อยกว่า ร้อยละ5 8. ทารกแรกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม น้อยกว่าร้อยละ7 9. มารดาตาย น้อยกว่า 18/100,000การเกิดมีชีพ

     

    4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหางานอนามัย-แม่และเด็ก
    ตัวชี้วัด : 10. ทารกตายปริกำเนิด (ต่ำกว่า 7 วัน )น้อยกว่า 9/1,000 การเกิดมีชีพ 11. ทารกตาย (อายุต่ำกว่า 1 ปี )น้อยกว่า 15/1,000การเกิดมีชีพ 12. อัตราคุมกำเนิด ร้อยละ 75

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 65
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีความรู้เกิดความตระหนักด้านสร้างสุขภาพและมีการพัฒนาศักยภาพ สามารถนำความรู้ไปพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อน12 สัปดาห์ฝากครรภ์ครบ5 ครั้งตามเกณฑ์ และมีทัศนะคติที่ดีต่อการคลอดที่โรงพยาบาล (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กที่ถูกต้อง และการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง (4) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหางานอนามัย-แม่และเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเครือข่ายห่วงใยใส่ใจแม่และเด็ก ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.บ้านโคกโตนด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด