กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการชุมชนปลอดโฟม พลาสติก อาหารปลอดภัยใน่ใจผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2563

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการชุมชนปลอดโฟม พลาสติก อาหารปลอดภัยใน่ใจผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2563 ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวันวิสาข์ เทพเดชา

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดโฟม พลาสติก อาหารปลอดภัยใน่ใจผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2563

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5240-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดโฟม พลาสติก อาหารปลอดภัยใน่ใจผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดโฟม พลาสติก อาหารปลอดภัยใน่ใจผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดโฟม พลาสติก อาหารปลอดภัยใน่ใจผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5240-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง การบริโภคอาหารที่สุก สะอาด ถูกต้อง เหมาะสม ทั้งประเภท ปริมาณครบถ้วน 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการ สำหรับบุคคลทั่วไป กลุ่มเสี่ยง และผู้ป่วยนั้น ทำให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกาย การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด ปนเปื้อนเชื้อโรคเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วง อหิวาตกโรค โรคอาหารเป็นพิษ และการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน และประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นประจำ ก็เป็นประจำ ก็เป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นต้น รัฐบาลจึงได้มุ่งเน้นงานอาหารปลอดภัยและงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขเป็นนโยบายสำคัญมาตั้งแต่ปี 2548 โดยกำหนดยุท่ธศาสตร์การดำเนินงานด้านความแข็งแรงในการกำกับดูแล ให้อาหารปลอดภัยและคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ซึ่งมีกิจกรรมการดูแลสถานประกอบการอาหาร และผลิตภัณฑ์อาหาร การดำเนินโครงการอาหาร สะอาด รสชาติอร่อย clean food good taste การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 6 ชนิด และสารโพลาห์ในน้ำมัน ทอดซ้ำ รวมทั้ง อะฟาท็อกซิน ตลอดจนการรณรงค์ให้ประชาชนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัยถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร ผ่านสื่อต่างๆกิจกรรมเหล่านี้มีความสำคัญที่จะทำให้ประชาชนผู้บริโภคได้รับอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารที่สะอาด ปลอดภัย อาหารที่สะอาดหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้คือ อาหารหรือวัตุดิบที่นำมาปรุงสถานที่ผลิตและประกอบการด้านอาหาร เช่น ร้านอาหาร แผงลอย ตลอด แผงขายอาหารสด ร้านขายของชำ โรงครัวในวัดและโรงเรียน ร้านขายของชำ ครัวเรือน ตลอดจนคนจำหน่าย คนปรุง คนเสริฟอาหารและคนทำความสะอาดภาชนะ นอกจากนี้ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แหล่งน้ำเสีย และแหล่งทิ้งขยะมูลฝอย เป็นต้น และจากข้อมูลการดำเนินงานอาหารปลอดภัยของตำบลท่าหิน หมู่ที่ 7-9 ปี 2561 พบว่าร้านอาหารผ่านเกณฑ์อาหารสะอาดรสชาติอร่อย 100 % และผ่านเกณ์อาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิด และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ 100% พบว่าผ่านร้านอาหารผ่านเกณฑ์อาหารสะอาดรสชาติอร่อย 100% ผ่านเกณฑ์อาหารปลอดภัยจากสารปนเปื้อน 6 ชนิดและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ 100%ชุมชนปลอดโฟม และพลาสติก 100% ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพปลอดภัยไร้สารเคมีต้องห้าม แต่อย่างไรก็ตาม การดำเนินงานต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือน เนื่องจากประชาชนปรุงอาหารรับประทานเองเป็นส่วนมาก การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในร้านค้า/ชุมชน/โรงเรียน จึงต้องมีการให้ความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่แม่บ้าน/ผู้ประกอบการร้านค้า นักเรียนให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อสร้างเสริมคุณภาพ พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนและเสริมสร้างความเข้มแข็งการมีส่วนร่วมของภาคเครือข่าย ให้ตระหนักเห็นความสำคัญของการเลือกซื้อเลือกอาหารบริโภคที่ถูกต้อง การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพ การจำหน่ายอาหาร การปรับปรุงประกอบอาหารและทั้งในโรงครัวโรงเรียน แผงลอยและครัวเรือนตลอดจนการสร้างจิตสำนึกชุมชนให้ปลอดโฟม ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู่แก่ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอย กลุ่มแม่บ้านประจำครัวเรือน นักเรียนกลุ่ม อย.น้อยในโรงเรียน กลุ่มผู้ประกอบการแผงลอยอาหาร และประชาชนทั่วไป ผ่านสื่อทุกรูปแบบ โดยเน้นในพื้นที่ เช่น โรงเรียน วัด แผง ลอยอาหาร และครัวเรือนตลอดจนโรงครัวโรงเรียนในวัดและโรงครัวชั่วคราว ในหมู่บ้านเมื่อมีงานต่างๆได้แก่ งานศพ งานมงคลสมรส งานอุปสมบท เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับอาหารทุกพื้นที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมปฎิบัติตนอย่างถูกต้องต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน จึงได้จัดทำโครงการชุมชนปลอดโฟม อาหารปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สถานที่ประกอบการร้านอาหารได้รับการตรวจติดตาม ดูแลสุขาภิบาลอาหาร/อาหารปลอดภัย ร้อยละ 100
  2. สถานที่ประกอบการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านอาหารปลอดภัยร้อยละ 100
  3. กลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ประกอบการด้านอาหาร สถานประกอบการด้านอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง
    2.ประชาชนเกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญในการปรุงประกอบอาหาร เลือกซื้อ และบริโภคอาหารที่สะอาด และปลอดภัย จนเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืน 3.ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้นโรคที่เกิดจากองค์ประกอบด้านการผลิตอาหาร และบริโภคอาหารเป็นปัจจัยหลักลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 สถานที่ประกอบการร้านอาหารได้รับการตรวจติดตาม ดูแลสุขาภิบาลอาหาร/อาหารปลอดภัย ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด :
    100.00 0.00

     

    2 สถานที่ประกอบการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านอาหารปลอดภัยร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด :
    100.00

     

    3 กลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด :
    100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สถานที่ประกอบการร้านอาหารได้รับการตรวจติดตาม ดูแลสุขาภิบาลอาหาร/อาหารปลอดภัย ร้อยละ 100 (2) สถานที่ประกอบการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านอาหารปลอดภัยร้อยละ 100 (3) กลุ่มเป้าหมายได้รับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนปลอดโฟม พลาสติก อาหารปลอดภัยใน่ใจผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2563 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 63-L5240-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวันวิสาข์ เทพเดชา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด