กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง


“ โครงการเครือข่ายร่วมใจต้านภัยมะเร็ง ”

ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านโคกโตนด

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายร่วมใจต้านภัยมะเร็ง

ที่อยู่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายร่วมใจต้านภัยมะเร็ง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายร่วมใจต้านภัยมะเร็ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายร่วมใจต้านภัยมะเร็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอลอตันหยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนคนไทยมากเป็นอันดับหนึ่งในขณะนี้ สำหรับโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคที่พบบ่อยที่สุดและเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของสตรีไทย รองลงมาคือโรคมะเร็งเต้านม โดยในปัจจุบันพบโรคมะเร็งในสตรีที่มีอายุน้อยลง สำหรับสาเหตุที่ทำให้สตรีเป็นโรคมะเร็งมีหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น กรรมพันธุ์ วิถีการดำรงชีวิตซึ่งมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภค และโอกาสการเข้าถึงสถานบริการทางด้านสาธารณสุขเมื่อมีอาการของโรคโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมสามารถรักษาให้หายได้ ถ้าพบความผิดปกติในระยะเริ่มแรก โดยสตรีที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกๆเดือน เป็นการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม และสตรีที่มีอายุ 30-60 ปี ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap smear อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ซึ่งได้มีการทำวิจัยอย่างแน่ชัดแล้วว่าสามารถลดอัตราการเกิดและลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนดปี 2554-2558 ดังนี้ คือ ปี 2554 ร้อยละ 20.70 ไม่พบผู้ที่มีเซลล์ที่ผิดปกติ, ปี 2555 ร้อยละ 15.00 ไม่พบเซลล์ที่ผิดปกติ, ปี 2556 ร้อยละ 19.14 ไม่พบผู้ที่มีเซลล์ที่ผิดปกติปี 2557 ร้อยละ 8.64 ไม่พบเซลล์ที่ผิดปกติ, และ ปี 2558 ร้อยละ 2.00 ไม่พบผู้ที่มีเซลล์ที่ผิดปกติ จะเห็นว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนัก และไม่เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ซึ่งส่วนใหญ่ยังมีทัศนะคติที่ไม่ถูกต้องเช่นการอ้างผิดหลักศาสนา การกลัวเจ็บจากเครื่องมือแพทย์ และอายเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจจากปัญหาดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกโตนดและชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านโคกโตนด ตำบลคอลอตันหยง ได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูก ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
  2. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ปีได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองแล้วพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ทันที ร้อยละ100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เครือข่ายชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถแนะนำกลุ่มเป้าหมายตรวจเต้านมตนเองและรับบริการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเพิ่มขึ้นกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองแล้วพบความผิดปกติของเซลล์ หรือมีการติดเชื้อต้องได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้องจากแพทย์อย่างทันที เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เครือข่ายชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถแนะนำกลุ่มเป้าหมายตรวจเต้านมตนเองและรับบริการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งเพิ่มขึ้น  กลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองแล้วพบความผิดปกติของเซลล์ หรือมีการติดเชื้อต้องได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้องจากแพทย์อย่างทันที เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 35ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ปีได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ปีได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองแล้วพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ทันที ร้อยละ100
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองแล้วพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ทันที ร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ปีได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20 (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองแล้วพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ทันที ร้อยละ100

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเครือข่ายร่วมใจต้านภัยมะเร็ง จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.บ้านโคกโตนด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด