กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ


“ โครงการเฝ้าระวังติดตามโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็กแรกเกิด–5 ปี ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอซัก สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังติดตามโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็กแรกเกิด–5 ปี ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L289-1-4 เลขที่ข้อตกลง 3/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังติดตามโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็กแรกเกิด–5 ปี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังติดตามโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็กแรกเกิด–5 ปี ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังติดตามโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็กแรกเกิด–5 ปี ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L289-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายให้ลดอัตราการเกิดโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในทุกพื้นที่ ตามพันธะสัญญานานาชาติว่าด้วยการกวาดล้างโรคโปลิโอและการกำจัดโรคหัดโดยกำหนดเป้าหมายไม่เกิน1ต่อล้านประชากรในปี 2563 และจากสถานการณ์สามจังหวัดชายแดนใต้ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ได้มีการเกิดระบาดด้วยโรคหัดที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม- 20 พฤศจิกายน 2561) มีจำนวนยอดผู้เสียชีวิตทั้งหมด 22 ราย และจากสถานการณ์จังหวัดนราธิวาส ปี 2561 (ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม- 20 ธันวาคม 2561) พบว่ายังมีประชาชนป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ดังนี้ 1)โรคหัด พบผู้ป่วยในพื้นที่ทุกอำเภอ จำนวน 368 ราย อัตราป่วยรวม 20.44 ต่อประชากรแสนคน และเสียชีวิต 1 ราย อัตราเสียชีวิตรวม 0.05ต่อประชากรแสนคน 2) โรคไอกรน พบผู้ป่วยในพื้นที่ตำบลบาเระใต้ อำเภอบาเจาะ จำนวน 1 ราย อัตราป่วยรวม 0.05 ต่อประชากรแสนคน และจากข้อมูลความครอบคลุมการให้บริการวัคซีนในเด็กแรกเกิด- 5 ปี พบว่าความครอบคลุมให้บริการวัคซีนในเด็กแรกเกิด- 5 ปี ปี 2560-2562 ยังไม่ได้ตามเกณฑ์

    จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือ ในรอบปี2562พบว่ามีผู้ป่วยโรคหัดจำนวน 3 ราย คิดอัตราป่วยเท่ากับ 0.16 ต่อประชากรแสนคน ในกลุ่มเด็กแรกเกิด - 5 ปี ที่มารับบริการเองตามนัดคิดเป็นร้อยละ 62.02 กลุ่มลังเลไม่ปฏิเสธและต้องติดตามอย่างใกล้ชิดคิดเป็นร้อยละ 32.75 และกลุ่มปฏิเสธการรับวัคซีนคิดเป็นร้อยละ 5.21 อัตราความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 90.59 อัตราความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 97.92 อัตราความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปี คิดเป็นร้อยละ 77.63 อัตราความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 62.07 จากผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่ผ่านมาต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนด ซึ่งอาจส่งผลต่อการรับแพร่เชื้อเกิดโรคระบาดจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนได้   สำหรับพื้นที่ตำบลบาเระเหนือยังคงมีความเสี่ยงที่จะรับเชื้อและเกิดการระบาดได้หากมีผู้ติดเชื้อเดินทางเข้าออกในพื้นที่ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือยังคงต้องมีนโยบายรณรงค์ให้ได้รับวัคซีนพื้นฐานและจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุ และผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กแรกเกิด - 5 ปี มีความรู้ที่ถูกต้อง และมีความตระหนักในการพาบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีนเพราะฉะนั้นการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ ติดตาม แก่ผู้ปกครองเด็กและจำเป็นอย่างยิ่งต้องมีการดำเนินงานเชิงรุกต่อเนื่องทุกปี จึงเป็นมาตรการสำคัญที่จะช่วยเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันต่อโรค และเป็นการป้องกันสุขภาพเด็กในพื้นที่ไม่ให้ติดเชื้อรวมถึงการลดโอกาสติดเชื้อจากภายนอกกลับเข้ามาระบาดได้ จากเหตุผลดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือได้เล็งเห็นถึงความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ(แกนนำ/ภาคีเครือข่าย)ถอดบทเรียนในปีที่ผ่านมาเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหา
  2. อบรมปฏิบัติการ(แกนนำ/ภาคีเครือข่าย)พร้อมติดตามและให้บริการวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่
  3. จัดทำป้ายโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 549
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กแรกเกิด -5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. ผู้ปกครองมีความตระหนักในการพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีนตามอายุเกณฑ์ที่กำหนด
  3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ
ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุครบ 1 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
549.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 549
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 549
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ(แกนนำ/ภาคีเครือข่าย)ถอดบทเรียนในปีที่ผ่านมาเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหา (2) อบรมปฏิบัติการ(แกนนำ/ภาคีเครือข่าย)พร้อมติดตามและให้บริการวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่ (3) จัดทำป้ายโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังติดตามโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็กแรกเกิด–5 ปี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L289-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลรอซัก สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด