โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประทีป สว่างคีรี นางนี เลี่ยนกัตวา นางดารา ทองอินทร์ สุกานดา จิตรเอียด นางอุดมวรรณ ทองอินทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3341-2-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3341-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน เป็นปัญหาด้านสุขภาพและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศ สำหรับประเทศไทยและประเทศทางแถบเอเชียนั้น ผู้เป็นเบาหวานร้อยละ ๙๙ เป็นเบาหวานชนิดที่ ๒ เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ มากมายทั้งชนิดเฉียบพลัน เช่น ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ และการติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อนชนิดเรื้อรังได้แก่ ไตวาย แผลเรื้อรังที่เท้า ต้อกระจกและตาบอด โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง เป็นต้น และภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญมากของโรคเบาหวานที่ต้องให้ความสนใจไม่น้อยไปกว่าภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ นั่นก็คือ แผลที่เท้า แผลที่เท้าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมักก่อให้เกิดปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย ทำให้บริเวณเท้าชา ไม่รู้สึกเจ็บปวด ไม่รับรู้แรงกดดัน หรืออาจสูญเสียการรับรู้ร้อนหนาวได้ สิ่งเหล่านี้ทำให้ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุ หรือแม้แต่เมื่อมีแผลเกิดขึ้นที่เท้าก็จะไม่รู้สึกเจ็บทำให้แผลนั้นลุกลาม
จากการสำรวจ สภาวะสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบจำนวน 105 คน ในจำนวนนี้มีผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก จำนวน 6๐ คน ได้มีการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน พบว่า มีผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าและมีปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย มีจำนวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๓๘ ซึ่งจากการตรวจคัดกรองเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงปานกลางและเสี่ยงสูง ถ้าหากปล่อยไว้ไม่ได้รับการบำบัดนั้นผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว อาจเป็นแผลเรื้อรังรักษาหายยาก อาจถูกตัดขาได้ในที่สุด
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก จึงได้หาแนวทางและกระบวนการที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา จึงได้ทำนวัตกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” มาใช้ในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ที่ระดับเสี่ยงปานกลางและเสี่ยงสูง เพื่อให้ลดภาวะแทรกซ้อนในเท้าผู้ป่วยเบาหวานทำให้เท้าสะอาด ลดการติดเชื้อ ดับกลิ่นเท้า รักษาแผล กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด คลายเส้นคลายกล้ามเนื้อ ลดอาการชาของเท้า และคลายเครียดจากกลิ่นสมุนไพร ที่มีน้ำมันหอมระเหย และให้ผู้ป่วยเบาหวานมีทักษะ สามารถดูแลเท้าของตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- . เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
- เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า
- เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน
- กิจกรรมตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
- กิจกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” ทุกวันที่ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวานได้
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้าลดลง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าของผู้ป่วยได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน
วันที่ 15 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 60 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 90 มีความเข้าใจในการดูแลตัวเองป้องกันโรคแทรกซ้อน
60
0
2. กิจกรรมตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
วันที่ 20 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 100
60
0
3. กิจกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” ทุกวันที่ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
วันที่ 22 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
แช่เท้าด้วยสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบากมีอาการชาลดลงร้อยละ 80
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
. เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีอาการชาลดลง ร้อยละ 80
1.00
2
เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 100
1.00
3
เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บริการ ร้อยละ 80
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน (2) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า (3) เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก (3) กิจกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” ทุกวันที่ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3341-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประทีป สว่างคีรี นางนี เลี่ยนกัตวา นางดารา ทองอินทร์ สุกานดา จิตรเอียด นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 ”
ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประทีป สว่างคีรี นางนี เลี่ยนกัตวา นางดารา ทองอินทร์ สุกานดา จิตรเอียด นางอุดมวรรณ ทองอินทร์
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3341-2-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3341-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน เป็นปัญหาด้านสุขภาพและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของหลายประเทศ สำหรับประเทศไทยและประเทศทางแถบเอเชียนั้น ผู้เป็นเบาหวานร้อยละ ๙๙ เป็นเบาหวานชนิดที่ ๒ เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ มากมายทั้งชนิดเฉียบพลัน เช่น ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ และการติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อนชนิดเรื้อรังได้แก่ ไตวาย แผลเรื้อรังที่เท้า ต้อกระจกและตาบอด โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง เป็นต้น และภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญมากของโรคเบาหวานที่ต้องให้ความสนใจไม่น้อยไปกว่าภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ นั่นก็คือ แผลที่เท้า แผลที่เท้าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีมักก่อให้เกิดปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย ทำให้บริเวณเท้าชา ไม่รู้สึกเจ็บปวด ไม่รับรู้แรงกดดัน หรืออาจสูญเสียการรับรู้ร้อนหนาวได้ สิ่งเหล่านี้ทำให้ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุ หรือแม้แต่เมื่อมีแผลเกิดขึ้นที่เท้าก็จะไม่รู้สึกเจ็บทำให้แผลนั้นลุกลาม จากการสำรวจ สภาวะสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบจำนวน 105 คน ในจำนวนนี้มีผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก จำนวน 6๐ คน ได้มีการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน พบว่า มีผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าและมีปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย มีจำนวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๓๘ ซึ่งจากการตรวจคัดกรองเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงปานกลางและเสี่ยงสูง ถ้าหากปล่อยไว้ไม่ได้รับการบำบัดนั้นผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว อาจเป็นแผลเรื้อรังรักษาหายยาก อาจถูกตัดขาได้ในที่สุด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก จึงได้หาแนวทางและกระบวนการที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา จึงได้ทำนวัตกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” มาใช้ในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ที่ระดับเสี่ยงปานกลางและเสี่ยงสูง เพื่อให้ลดภาวะแทรกซ้อนในเท้าผู้ป่วยเบาหวานทำให้เท้าสะอาด ลดการติดเชื้อ ดับกลิ่นเท้า รักษาแผล กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด คลายเส้นคลายกล้ามเนื้อ ลดอาการชาของเท้า และคลายเครียดจากกลิ่นสมุนไพร ที่มีน้ำมันหอมระเหย และให้ผู้ป่วยเบาหวานมีทักษะ สามารถดูแลเท้าของตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- . เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
- เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า
- เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน
- กิจกรรมตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
- กิจกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” ทุกวันที่ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวานได้
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้าลดลง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าของผู้ป่วยได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน |
||
วันที่ 15 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 60 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 90 มีความเข้าใจในการดูแลตัวเองป้องกันโรคแทรกซ้อน
|
60 | 0 |
2. กิจกรรมตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก |
||
วันที่ 20 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 100
|
60 | 0 |
3. กิจกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” ทุกวันที่ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก |
||
วันที่ 22 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำแช่เท้าด้วยสมุนไพร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบากมีอาการชาลดลงร้อยละ 80
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | . เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีอาการชาลดลง ร้อยละ 80 |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ร้อยละ 100 |
1.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บริการ ร้อยละ 80 |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 60 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน (2) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า (3) เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองหาภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก (3) กิจกรรม “สมุนไพรแช่เท้า” ทุกวันที่ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน รพ.สต.บ้านป่าบาก ประจำปี 2563 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3341-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประทีป สว่างคีรี นางนี เลี่ยนกัตวา นางดารา ทองอินทร์ สุกานดา จิตรเอียด นางอุดมวรรณ ทองอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......