กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวกิ่งกนก พึ่งนุสนธิ์




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5251-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5251-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,022.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะสมองเสื่อมคือกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติต่างๆที่มีผลกระทบต่อสมอง และมีความเปลี่ยนแปลงทั้งความคิด พฤติกรรม ทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาเช่น ผู้สูงอายุหลงลืมไม่สามารถทำสิ่งที่เคยทำได้ มีปัญหาในการใช้ภาษา เช่น พูดไม่รู้เรื่อง หรือการพูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ยาก การวางของผิดที่ผิดทาง ทำให้อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไป เช่น ซึมเศร้าหรืออาจจะมีบุคลิกที่กลับไปเป็นเด็กอีกครั้ง ในรายที่รุนแรงมากๆอาจไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ แม้กระทั่งอาบน้ำหรือทำกิจวัตรประจำวันอย่างอื่น ทำให้ผู้ดูแลจำเป็นต้องดูแลตลอดเวลา และผู้ดูแลเองอาจเกิดความเครียดขึ้นได้รวมถึงการขาดรายได้ในการทำงานอย่างอื่นอีกด้วย ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดสมองเสื่อมขึ้นเช่นความดันโลหิตสูง ไขมันในหลอดเลือดสูงและโรคเบาหวานเพราะเลือดแดงแข็งตัวไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้อย่างเพียงพอทำให้สมองฝ่อตัวลดลงและความสามารถถดถอยลงทั้งกระบวนการคิด ความจำและสติปัญญาเป็นต้น และภาวะซึมเศร้าเป็นความผิดปกติของสมอง ที่มีผลกระทบต่อความนึกคิด อารมณ์ ความรู้สึก พฤติกรรมและสุขภาพกาย ในปัจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทางจิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน การทำงานและความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง นำไปสู่ภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงมากขึ้น เช่น มีอาการหลงผิด หูแว่ว มีความคิดทำร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตายเป็นต้น           ภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าเป็นภาวะที่เกี่ยวข้องทางด้านจิตใจ และเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ ที่สามารถก่อให้เกิดการสูญเสียสุขภาวะ ส่งผลกระทบต่อครอบครัว สังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งเล็งเห็นถึงผู้สูงอายุที่ทำกิจวัตรประจำวันโดยพึ่งพาคนรอบข้างบางส่วนและผู้สูงอายุที่นอนติดเตียงหรือพึ่งพาตนเองได้น้อย รวมถึงการที่ต้องเผชิญกับโรคเรื้อรังต่างๆเช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไขมันในเลือดสูง อื่นๆเป็นต้น สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อจิตใจเป็นอย่างมากในการดำเนินชีวิต ต้องฟื้นฟูและต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไป ดังนั้นการเจ็บป่วยเรื้อรังและสมรรถนะผู้สูงอายุ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ครอบครัวและเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดความเครียด วิตกกังวล หากไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลจะก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้น ทำให้เกิดความท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อหน่าย ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงเกิดภาวะซึมเศร้าได้
        จากการศึกษาสำรวจประชากรผู้สูงอายุใน อำเภอสะเดา ตำบลสำนักขามในปี พ.ศ.๒๕๖2 มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 650 คน พบจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมจำนวน 1 คน (ที่มา:สำนักงานกระทวงสาธารณสุข อำเภอสะเดา ตำบลสำนักขาม,๒๕๖2) ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้/ติดสังคม (ADL เท่ากับ 12-20 คะแนน) จำนวน 626 คน , ผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้บางส่วน/ติดบ้าน (ADL เท่ากับ 5-11 คะแนน) จำนวน 21 คน และผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้น้อย/ไม่ได้เลย/ติดเตียง (ADL เท่ากับ 0-4 คะแนน) จำนวน 3 คน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต จึงจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวภาวะสมองเสื่อมและโรคซึมเศร้า สามารถป้องกันภาวะสมองเสื่อม,โรคซึมเศร้าได้ ทำให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมเข้าสังคมไม่รู้สึกโดดเดี่ยวและจัดให้ อสม. เข้าร่วมโครงการเพื่อลงชุมชนสามารถเผยแพร่และสอนให้ความรู้สำหรับผู้สูงอายุที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้น้อย ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดทำขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. ผู้สูงอายุและอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
  2. ๒. ผู้สูงอายุและอสม.สามารถเผยแพร่และใช้ท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าหัวเราะบำบัดไปใช้เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้
  2. ๒.รณรงค์และประชาสัมพันธ์
  3. ๓.กิจกรรมท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าบริหารหัวเราะบำบัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 626
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า   ๒. ผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าบริหารหัวเราะบำบัดเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ๒.รณรงค์และประชาสัมพันธ์

วันที่ 21 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้การป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าทั้งหมดจำนวน 697 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ขั้นเตรียมการ ๑.๑ จัดทำแผนงานโครงการ ๑.๒ ศึกษาข้อมูลเชิงสถิติเกี่ยวกับประชากรผู้สูงอายุและประชากร คัดกรองสมรรถนะ การช่วยเหลือตนเอง โดยใช้แบบประเมิน ADL

 

0 0

2. ๓.กิจกรรมท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าบริหารหัวเราะบำบัด

วันที่ 21 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

๓.กิจกรรมท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าบริหารหัวเราะบำบัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จัดทำเอกสารเรื่องภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า (แผ่นพับ) จำนวน 697 แผ่น
    • ไวนิลประชาสัมพันธ์

 

0 0

3. ๑.ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้

วันที่ 21 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

๑.ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๓. ขั้นสรุป                     ๓.๑ ติดตามเพื่อประเมินผลการปฏิบัติตัวในการใช้ท่าบริหารสมองและท่าบริหารหัวเราะบำบัด โดยลงไปสุ่มในแต่ละหมู่ จำนวน 10 คน หลังเสร็จสิ้นโครงการ                     ๓.๒ อธิบายสรุปโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. ผู้สูงอายุและอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุและอสม.สามารถบอกความหมายและการป้องกันเกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 ๒. ผู้สูงอายุและอสม.สามารถเผยแพร่และใช้ท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าหัวเราะบำบัดไปใช้เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าได้
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้สูงอายุและอสม.มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ และสามารถปฏิบัติท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าหัวเราะบำบัดได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. จากการสอบถามผู้สูงอายุและอสม.สามารถนำท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าหัวเราะบำบัดกลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 626 626
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 626 626
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. ผู้สูงอายุและอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า (2) ๒. ผู้สูงอายุและอสม.สามารถเผยแพร่และใช้ท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าหัวเราะบำบัดไปใช้เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้ (2) ๒.รณรงค์และประชาสัมพันธ์ (3) ๓.กิจกรรมท่าบริหารสมองเสื่อมและท่าบริหารหัวเราะบำบัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5251-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกิ่งกนก พึ่งนุสนธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด