กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม. ร่วมใจคัดกรอง/ติดตามกลุ่มเสี่ยงและดูแลกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชนตำบลพิจิตร ปี 2560 ”
ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางพิชชาภาสุวรรณะ




ชื่อโครงการ โครงการ อสม. ร่วมใจคัดกรอง/ติดตามกลุ่มเสี่ยงและดูแลกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชนตำบลพิจิตร ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5208-27-2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. ร่วมใจคัดกรอง/ติดตามกลุ่มเสี่ยงและดูแลกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชนตำบลพิจิตร ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิจิตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. ร่วมใจคัดกรอง/ติดตามกลุ่มเสี่ยงและดูแลกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชนตำบลพิจิตร ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. ร่วมใจคัดกรอง/ติดตามกลุ่มเสี่ยงและดูแลกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชนตำบลพิจิตร ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5208-27-2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิจิตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อโดยเฉพาะภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเร่งด่วนของประเทศ ทั้งนี้สืบเนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งจากภายนอกและภายในประเทศไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การพัฒนาด้านเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมการดำเนินชีวิต ความเป็นอยู่ และภาวะสุขภาพของประชาชน ทำให้ประชาชนมีภาวะเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยมากขึ้น จากปัจจัยต่างๆ เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดื่มชา กาแฟ ความเคียด เป็นต้น ประชาชนในเขตรับผิดชอบตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลาพบว่ามีอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 1,471ต่อประชากรแสนคนหรือคิดเป็นร้อยละ 20.66 ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปและมีอัตราป่วยด้วย โรคเบาหวาน 376 ต่อประชากรแสนคนหรือคิดเป็นร้อยละ 5.28 ของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวเห็นได้ว่าประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะโรคความอันโลหิตสูงและเบาหวาน ซึ่งปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าว ได้แก่ การบริโภคอาหารที่มีรสเค้ม ไขมันและน้ำตาลสูง น้ำหนักตัวมากเกินมาตรฐาน ความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การดื่มสุรา สูบบุหรี่ เป็นต้น อีกทั้งยังขาดการตื่นตัว ขาดความตระหนัก ขาดความรู้ ขาดทักษะและการเข้าถึงบริการที่จำเป็นในการดูแลสุขภาพตนเอง ดังนั้น การป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนที่มีความเสี่ยงสูงจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่สำคัญเพื่อลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของโรค ศูนย์สุขภาพชุมชนพิจิตรและชมรม อสม. ตำบลพิจิตร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ อสม. ตำบลพิจิตร เฝ้าระวังโรคเบาหวานและภาะความดันโลหิตสูงของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งนี้ เพื่อประเมินสถานการณ์และแนวโน้มของการเจ็บป่วย อันจะเป็นแนวทางในการวางแผน กำหนดนโบบายและในการควบคุมป้องกัน และลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รวมทั้งประชาชนในกลุ่มเสี่ยงได้เกิดทักษะในการค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรคดังกล่าวในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 87
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงและสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง ทันเวลา
    2. กลุ่มเสียงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคและได้รับการตรวจติดตาม
    3. กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลให้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะไตวาย เป็นต้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 87
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 87
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อสม. ร่วมใจคัดกรอง/ติดตามกลุ่มเสี่ยงและดูแลกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชนตำบลพิจิตร ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5208-27-2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพิชชาภาสุวรรณะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด