กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส


“ โครงการประชารัฐร่วมใจ เมืองสะอาดปลอดขยะ ไร้รังโรค ”

อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอัซอารี ดือราแม

ชื่อโครงการ โครงการประชารัฐร่วมใจ เมืองสะอาดปลอดขยะ ไร้รังโรค

ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L7885-1-94 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชารัฐร่วมใจ เมืองสะอาดปลอดขยะ ไร้รังโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชารัฐร่วมใจ เมืองสะอาดปลอดขยะ ไร้รังโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชารัฐร่วมใจ เมืองสะอาดปลอดขยะ ไร้รังโรค " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7885-1-94 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่๒๐กันยายน๒๕๕๙เห็นชอบแผนปฏิบัติการ“ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ ๑ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙–๒๕๖๐)ซึ่งแผนปฏิบัติการฯดังกล่าวเป็น-แนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการขยะในระยะสั้นของหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและประชาชนทั่วไปให้มีส่วนร่วมในการดำเนินการลดขยะที่ต้นทางเพื่อเป็นการวางรากฐานการดำเนินการการจัดการขยะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ในระยะ๑ปี(พ.ศ. ๒๕๕๙–๒๕๖๐)ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศพ.ศ.๒๕๕๙– ๒๕๖๔นั้นเป็นแนวทางเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่การเป็นสังคมปลอดขยะ (Zero Waste Society) ซึ่งวางอยู่บนแนวคิด3Rs – ประชารัฐคือการส่งเสริมการจัดการขยะที่ต้นทางซึ่งเป็นการจัดการที่ยั่งยืนคือการลดปริมาณขยะจากแหล่งต้นทาง (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นการเพิ่มมูลค่าหรือแปรรูปขยะซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณขยะในภาพรวมทั้งประเทศลดลงทำให้ปริมาณขยะที่จะต้องเข้าสู่ระบบการกำจัดลดลงและมีการกำจัดที่ถูกวิธีเพิ่มมากขึ้นอีกด้วยตามแนวคิดเรื่อง“ประชารัฐ” คือการคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการปัญหาได้แก่ภาครัฐภาคเอกชนภาคประชาชนประชาสังคมภาคการศึกษาและภาคการศาสนาเป็นต้น เทศบาลเมืองนราธิวาส กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม งานเผยแพร่และฝึกอบรม จึงจัดทำ โครงการประชารัฐร่วมใจ เมืองสะอาด ปลอดขยะ ไร้รังโรคเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรมตาม Roadmap การสร้างวินัยของคนในชาติในเรื่องการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายและรณรงค์สร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนร่วมกันทำให้เมืองนราเป็นเมืองสะอาดมีวินัยในการบริหารจัดการขยะทั้งระบบไปสู่การเป็นเมืองปลอดขยะและสังคมน่าอยู่ยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อขับเคลื่อนดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ"ประเทศไทย ไร้ขยะ"
  2. เพื่อสร้างความตระหนัก และความร่วมมือจากภาคประชาชน ราชการ เอกชน สถานศึกษาและภาคศาสนาในการพัฒนาเมืองให้สะอาดน่าอยู๋

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 225
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ประชาชนชุมชนหน่วยงานองค์กรในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองนราธิวาสมีส่วนร่วมมีจิตสำนึกในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายมากขึ้น         ๒.ขยะมูลฝอยในครัวเรือนชุมชนและพื้นที่สาธารณะมีปริมาณลดลง         ๓.สภาพแวดล้อมของเมืองนราธิวาสดีขึ้นและประชาชนในพื้นที่ข้างเคียงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ยกเลิกกิจกรรม เนื่องจากได้รับการทักท้วงจากกลุ่มเป้าหมาย ว่า หลายๆชุมชนเคยได้รับการฝึกอบรมแล้ว มีองค์ความรู้ดี จึงมีความรู้สึกซ้ำซาก จำเจและเบื่อหน่าย อยากให้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้หรือแลกเปลี่ยน สัมมนา นอกสถานที่ ทัศนศึกษาดูงาน ถอดบทเรียนในพื้นที่ๆประสบผลสำเร็จหรือชุมชนต้นแบบการจัดการขยะชุมชน

     

    415 0

    2. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -จัดทำป้ายไวนิล
    -จัดทำสติ๊กเกอร์ -จัดทำแผ่นพับ -จัดทำสปอร์ตเสียง

     

    0 415

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ได้ดำเนินงานตามโครงการฯ แล้วเสร็จใน 4 กิจกรรม และได้ยกเลิก 1 กิจกรรม ดังนี้ 1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 2.ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนดำเนินการลดและคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิด 3.จัดประกวดชุมชนสะอาด 4.ได้กำหนดจุดรวบรวมขยะอันตรายประจำชุมชนๆละ 1 จุด

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อขับเคลื่อนดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ"ประเทศไทย ไร้ขยะ"
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อสร้างความตระหนัก และความร่วมมือจากภาคประชาชน ราชการ เอกชน สถานศึกษาและภาคศาสนาในการพัฒนาเมืองให้สะอาดน่าอยู๋
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 225
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 225
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อขับเคลื่อนดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ"ประเทศไทย ไร้ขยะ" (2) เพื่อสร้างความตระหนัก และความร่วมมือจากภาคประชาชน ราชการ เอกชน สถานศึกษาและภาคศาสนาในการพัฒนาเมืองให้สะอาดน่าอยู๋

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประชารัฐร่วมใจ เมืองสะอาดปลอดขยะ ไร้รังโรค จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L7885-1-94

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอัซอารี ดือราแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด